ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

จัดการความเป็นส่วนตัว

คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)

เปิดใช้งานตลอด
คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการ ใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการใน สาระสำคัญของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้

คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร จดจำตัวเลือกต่าง ๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วย ให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ เช่น ช่วยจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้งานของท่าน หรือจดจำการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าขนาดฟอนต์หรือการตั้งค่าต่าง ๆ ของหน้าเพจซึ่งท่านสามารถปรับแต่งได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน

image header.
ระบบศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร
image header.

ผลงาน

พระพุทธศีลบารมีเมตตา
          เป็นการออกแบบในรูปลักษณืของผู้อิ่มบุญหรือผู้ให้ในอง๕พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ โดยนำอง ๕ พระพุทธรูปเป็นทางชี้นำในเรื่องของความมีศีล บารมี เมตตา ศีล  การควบคุมความประพฤติทางกาย วาจา และใจ ให้ตั้งอยุ่ในความดีงาม มีความปกติสุขไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกันในสังคมมนุษย์ บารมี  คุณความดีที่ได้บำเพ็ญเป็นคุณสมบัติอันยิ่งใหญ่มีกำลังใจในการสละออกให้ผู้อื่นด้วยจิตอนุเคราะห์ จิตใจกว้างขวาง สวยงามยิ่ง เมตตา  การช่วยให้ผู้อื่นพ่นจากทุกข์ให้มีสุข มีความเจริญด้วยการแสดงมีน้ำใจเอื้ออาทรต่อผู้อื่นด้วยความเต็มใจ มีจิตอันแผ่ไมตรี และคิดทำประโยชน์แก่มวลมนุษย์ ซึ่งพระองค์ไม่เคยเหน็ดเหนื่อย บำรุงทุกข์ บำรุงสุขให้ประชาราษฎร์มาโดยตลอดจนสิ้นพระชน...................................................................................................................  

องค์ความรู้

โครงการสร้างต้นแบบเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม ความรู้ด้านการสร้างหัวโขน แบบประยุกต์

     โขนเป็นนาฏกรรมที่รวบรวมเอาศิลปะที่สวยงามแขนงหนึ่งครบถ้วนตามขบวน “ระบำ รำ เต้น”เข้าไว้ด้วยกัน โดยเน้นหนักในเรื่อง “เต้น” เป็นเอกลักษณ์ กล่าวกันโดยติดปากว่า “เต้นโขน”การเต้นเป็นลีลาอันสวยงามที่แสดงออกถึงพลังหรือความเข้มแข็ง ประกอบกับการรำอาวุธที่มาแต่โบราณ คือ “กระบี่กระบอง” อันเป็นยุทธศิลปที่เน้นรูปแบบลีลาอันสวยงาม ให้เข้ากับจังหวะของเครื่องดนตรีหรือ “ยุทธดุริยางค์” และยังรวมไว้ด้วยการละเล่นที่จัดขึ้นเป็นพิธีหลวงที่สำคัญอย่างหนึ่ง คือ “ชักนาคดึกดำบรรพ์” อันเป็นตอนหนึ่งของเรื่องกำเนิดรามเกียรติ์ตอนกวนน้ำอมฤตจึงกล่าวไว้ว่า โขน เป็นนาฏกรรมที่รวมเอาศิลปะอันงดงามครบกระบวน “ระบำ รำ เต้น”

โครงการศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม “การซ่อมบูรณะงานศิลปกรรมแบบสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร (งานปิดทอง งานประดับกระจก)กรณีศึกษาพระแท่นบรรทม

เอกสารฉบับบนี้นำเสนอรายละเอียดการบูรณะซ่อมแซมพระแท่นบรรทม พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ในลักษณะการบูรณะซ่อมแซม. เพื่อการศึกษา เพื่อการอนุรักษ์และจัดแสดงแบบสำนักช่างสิบหมู่ ด้วยหลักฐานที่ปรากฎตามข้อเท็จจริงและสมมุติฐานโดยคำนึงถึงรูปแบบเดิมของพระแท่นบรรทมที่มีลักษณะงานช่างโบราณลงรักปิดทองประดับกระจก ทาชาดรวมถึงงานช่างสนะไทยเป็นงานที่เกี่ยวกับงานผ้าอาภรณ์ภัณฑ์ในการจัดทำผ้าดาดหลังคาและผ้าขลิบลายทองของพระแท่นบรรทมอันเป็นรูปแบบงานประณีตศิลป์ไทยที่ถ่ายทอดฝีมือและศิลปะเชิงช่างแบบโบราณจากอดีตจนถึงปัจจุบันให้กลับคืนสภาพอดีตดั่งแรกสร้าง            เพื่อเป็นการสืบทอดองค์ความรู้งานครูช่าง พัฒนาศักยภาพบุคลากรของสำนักช่างสิบหมู่ให้เกิดความเชี่ยวชาญทางด้านการบูรณะซ่อมแซมโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุอย่างถูกต้องเหมาะสม  และสอดคล้องกับภารกิจหลักขององค์กร โดยสำนักช่างสิบหมู่เป็นหน่วยงานในสังกัดกรมศิลปากรมีหน้าที่ในการทำนุบำรุงรักษาสืบทอด และเผยแพร่ความรู้อันเนื่องด้วยมรดกศิลปวัฒนธรรมของชาติ และสะดวกในการสืบค้นข้อมูลต่อไปในอนาคต สำนักช่างสิบหมู่หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารองค์ความรู้การบูรณะซ่อมแซมพระแท่นบรรทม รัชกาลที่ ๔ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม  ฉบับนี้จะเป็นแนวทางการบูรณะซ่อมแซมโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุในลักษณะการซ่อมงานอนุรักษ์แบบสำนักช่างสิบหมู่และเป็นประโยชน์ทางการศึกษาสำหรับผู้ที่สนใจได้ไม่มากก็น้อย หากเอกสารองค์ความรู้การบูรณะซ่อมแซมพระแท่นบรรทมฉบับนี้มีข้อผิดพลาดประการใดสำนักช่างสิบหมู่  ยินดีรับฟังข้อเสนอแนะและจะนำมาปรับปรุงเอกสารให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นต่อไป

ความรู้ทั่วไป

ขั้นตอนการสร้างสรรค์พระสาทิสลักษณ์ สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ด้วยเทคนิคการเขียนสีน้ำมันบนผ้าลินิน

พระสาทิสลักษณ์          ภาพเขียนของบุคคลโดยทั่วไปมักถูกเรียกว่าภาพคนเหมือน ภาพเหมือน รูปเหมือน หรือจิตรกรรมภาพเหมือนบุคคล (Portrait) แต่สำหรับราชาศัพท์ที่ใช้เรียกจิตรกรรมภาพเหมือนสำหรับพระมหากษัตริย์คือ พระบรมรูปเขียน พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ พระบรมสาทิสลักษณ์ ซึ่งหากยึดความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน คำว่า “บรม” หมายถึง อย่างยิ่ง, ที่สุด (มักใช้นำหน้าคำที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า พระเจ้าแผ่นดิน และพระอัครมเหสี เป็นต้น เพื่อแสดงพระเกียรติยศยิ่งใหญ่) และคำว่า “สาทิสลักษณ์” หมายถึง ภาพเขียนเหมือนบุคคลจริง ดังนั้นพระบรมสาทิสลักษณ์จึงใช้เรียกพระรูปเขียนของพระมหากษัตริย์เพียงพระองค์เดียว โดยราชาศัพท์ของจิตรกรรมภาพเหมือนสำหรับสมเด็จพระบรมราชินีนาถ หรือสมเด็จพระบรมราชินี ใช้คำว่า พระรูปเขียน พระสาทิสลักษณ์

ราชรถ ราชยาน

ราชรถ ราชยาน เป็นยานพาหนะที่เป็นเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ ในการพระราชพิธีต่าง ๆ มาแต่ครั้งโบราณกาล โดยปรากฏหลักฐานชัดเจนในสมัยกรุงศรีอยุธยาสืบมาจนปัจจุบัน  โดยเรียกแยกประเภทยานพาหนะที่มีคานหาม เคลื่อนที่โดยมีเจ้าพนักงานแบกหามว่า พระราชยาน มีลักษณะต่าง ๆ ทั้งชนิดประทับราบ พระทับห้อยพระบาท และยานพาหนะประเภทมีล้อ เคลื่อนที่โดยเจ้าพนักงานฉุดชัก เรียกว่า ราชรถ

ทะเบียนช่างสิบหมู่


ทะเบียนช่างไทย


  BACK TO TOP
jualtoto jualtoto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto ohtogel oh togel indosattoto indosat toto ohtogel oh togel ohtogel oh togel ohtogel oh togel jualtoto jual toto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto cahayatoto cahaya toto indosattoto indosat toto indosattoto indosat toto jualtoto ohtogel sisi368 jualtoto jualtoto sisi368 sisi368 sisi368 situs toto situs toto situs toto ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel sisi368 sisi368 sisi368 sisi368 sisi368