ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

จัดการความเป็นส่วนตัว

คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)

เปิดใช้งานตลอด
คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการ ใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการใน สาระสำคัญของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้

คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร จดจำตัวเลือกต่าง ๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วย ให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ เช่น ช่วยจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้งานของท่าน หรือจดจำการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าขนาดฟอนต์หรือการตั้งค่าต่าง ๆ ของหน้าเพจซึ่งท่านสามารถปรับแต่งได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน

image header.
ระบบศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร
image header.

ผลงาน

การลงรักปิดทองใหม่ พระพุทธรูปสําคัญ ๒ องค์ องค์ที่ ๑ คือพระพุทธเมตตาคุณากร (ปางลีลา) โรงพยาบาลศิริราช พยาบาล
        ด้วยกรมศิลปากรได้รับหนังสือ ขอความอนุเคราะห์จากโรงพยาบาลศิริราชพยาบาล ให้ช่วยซ่อมบูรณะ พระพุทธรูปสำคัญ ๒ องค์ ซึ่งมีสภาพชำรุด สมควรได้รับการซ่อมบูรณะโดยช่างผู้มีความชำนาญเฉพาะทางได้แก่ องค์ที่ ๑ คือพระพุทธเมตตาคุณากร (ปางลีลา) องค์ที่ ๒ คือพระพุทธรูปประจำหอพักนักศึกษาแพทย์ชาย (ปางห้ามสมุทร)               โดยแจ้งว่า จำเป็นต้องขอความกรุณาจากกรมศิลปากร ซึ่งมีหน่วยงานและผู้เชี่ยวชาญช่างสิบหมู่ที่มีความรู้ความชำนาญด้านงานลงรักปิดทอง มาช่วยซ่อมบูรณะ พระพุทธรูปสำคัญทั้ง ๒ องค์ ประวัติความเป็นมา             โรงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลของรัฐ สังกัดคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ ๒ ถนนวังหลังแขวงศิริราชแขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาตรงข้ามกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์)พระพุทธเมตตาคุณากร(ปางลีลา) สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ เจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ได้จัดสร้างขึ้นไว้ในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระชนมายุครบ ๓ รอบ ทำจากวัสดุสำริด ลงรักปิดทอง สูงพร้อมฐาน ๒๖๐ ซม. ประดิษฐานอยู่ที่หัวถนนจักรพงษ์ใกล้ศาลาท่าน้ำโรงพยาบาลศิริราช เพื่อให้แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ตลอดจนผู้ป่วยญาติ รวมทั้ง ประชาชนทั่วไป ได้สักการบูชาเป็นที่พึ่งทางจิตใจและเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เสด็จพระราชดำเนินมาทรงประกอบพิธีเบิกพระเนตร เมื่อวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๓๔ ลักษณะสำคัญของพระพุทธรูปพระพุทธเมตตาคุณากร          เป็นสัญลักษณ์สำคัญของกรุงรัตนโกสินทร์ พระพุทธรูปปางลีลาหรือปางเสด็จจากดาวดึงส์ วัสดุสำริดขนาดสูง ๑๕.๘๗๕ เมตร ประดิษฐานเป็นประธานในอาณาบริเวณอันกว้างขวางของพุทธมณฑล เป็นพระพุทธรูปที่ออกแบบโดย ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระสรีเดิมกำหนดขนาดความสูงไว้ ที่ ๒๕๐๐ นิ้วแต่เมื่อเห็นว่าจะใหญ่โตเกินไปจึงลดขนาดลงเป็น ๒๕๐๐ กระเบียด สร้างขึ้นเมื่อพุทธศักราช ๒๕๐๐ ซึ่งเป็นวาระพิเศษของพุทธศาสนิกชน ทั่วโลกเพราะถือว่าเป็นช่วงระยะเวลา “กึ่งพุทธกาล” จากความเชื่อที่ว่าพุทธศาสนาจะสื่อไปถึง ๕๐๐๐ ปีในฐานะที่ประเทศไทยเป็นแผ่นดินพุทธศาสนา รัฐบาลจึงมีการจัดสร้างพุทธมณฑลขึ้นในวาระนั้นได้ดำเนินการหล่อแล้วเสร็จเมื่อพุทธศักราช ๒๕๒๕ เป็นช่วงครบรอบ ๒๐๐ ปีกรุงรัตนโกสินทร์  

องค์ความรู้

โครงการสร้างต้นแบบเพื่อจัดทำองค์ความรู้ ความรู้ด้านการตอกกระดาษ ตอกฉลุหนัง

          ศิลปกรรมด้านการตอกกระดาษ  ตอกฉลุหนังมีขึ้นมาตั้งแต่ในสมัยอดีตกาล  ปรากฏทั้งในพิธีมงคล  และพิธีอวมงคล  ซึ่งปัจจุบันความนิยมในการใช้งานศิลปกรรมที่สร้างสรรค์จากงานตอกกระดาษ  ตอกฉลุหนังเริ่มจางหายไปตามกาลเวลา  สืบเนื่องจากวัสดุที่ค่อนข้างเก็บรักษายาก  เช่น  งานตอกกระดาษ  คงหลงเหลือไว้ให้ศึกษาเพียงแบบลาย  แต่ผลงานจริงกลับถูกทิ้งลงไปเมื่อเสร็จสิ้นพิธีกรรม  ส่วนงานตอกหนังนั้น  เนื่องจากขนาดที่ค่อนข้างใหญ่  จึงยากต่อการเก็บรักษาให้คงสภาพเดิมได้  และสืบเนื่องมาจนถึงการถ่ายทอดออกมาเป็นมหรสพการแสดงหนังใหญ่  ยังคงหลงเหลือกลุ่มชนเพียงบางกลุ่มที่ยังอนุรักษ์ภูมิปัญญาซึ่งถือว่าเป็นเอกลักษณ์หนึ่งของประเทศไทย           ด้วยความสำคัญซึ่งเล็งเห็นคุณค่าของงานศิลปกรรมทางด้านงานตอกกระดาษ  ตอกฉลุหนังนี้เอง  กรมศิลปากรจึงมอบหมายให้  ศูนย์ศิลปะและการช่างไทย  สำนักช่างสิบหมู่  จัดทำโครงการสร้างต้นแบบเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม  “ความรู้ทางด้านงานการตอกกระดาษ  ตอกฉลุหนัง”  เพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้ด้านศิลปกรรมให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนทั่วไปได้ศึกษาหาความรู้เบื้องต้นทางด้านงานการตอกกระดาษ  ตอกฉลุหนัง  เพื่อนำไปขยายผลในการทำงานด้านการตอกกระดาษ  ตอกฉลุหนังให้เกิดคุณค่าและมูลค่าต่อสังคมไทยต่อไป           อย่างไรก็ตามการทำหนังสือประกอบโครงการการจัดสร้างต้นแบบเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม “ความรู้ทางด้านงานการตอกกระดาษ  ตอกฉลุหนัง” เล่มนี้  หากมีเนื้อหาบกพร่องประการใด  ขอให้ท่านผู้รู้โปรดช่วยชี้แจงให้ทราบด้วย  เพื่อจะได้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องต่อไป  

ความรู้ทั่วไป

สารสำนักช่างสิบหมู่ ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๒ ประจำเดือน ก.พ. - พ.ค. ๕๓

          สารสำนักช่างสิบหมู่  ปีที่ ๑๐  ฉบับที่ ๒  ประจำเดือน ก.พ. - พ.ค. ๒๕๕๓  นำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับการจัดนิทรรศการงานช่างพื้นบ้าน  กับการสืบสานมรดกศิลปวัฒนธรรมไทยในวันอนุรักษ์มรดกไทย  รวมทั้งกระบวนการสร้างพระแท่นที่ประทับ (จำลอง) สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช  และกิจกรรมโครงการเยาวชนสัญจร : ค่ายศิลปวัฒนธรรม  ครั้งที่ ๘  ณ จังหวัดอุบลราชธานี  พร้อมเกร็ดความรู้เรื่องเครื่องไม้ - เครื่องมือ

ทะเบียนช่างสิบหมู่


ทะเบียนช่างไทย


  BACK TO TOP
jualtoto jualtoto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto ohtogel oh togel indosattoto indosat toto ohtogel oh togel ohtogel oh togel ohtogel oh togel jualtoto jual toto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto cahayatoto cahaya toto indosattoto indosat toto indosattoto indosat toto jualtoto ohtogel sisi368 jualtoto jualtoto sisi368 sisi368 sisi368 situs toto situs toto situs toto ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel sisi368 sisi368 sisi368 sisi368 sisi368 ohtogel