ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

จัดการความเป็นส่วนตัว

คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)

เปิดใช้งานตลอด
คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการ ใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการใน สาระสำคัญของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้

คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร จดจำตัวเลือกต่าง ๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วย ให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ เช่น ช่วยจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้งานของท่าน หรือจดจำการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าขนาดฟอนต์หรือการตั้งค่าต่าง ๆ ของหน้าเพจซึ่งท่านสามารถปรับแต่งได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน

image header.
ระบบศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร
image header.

องค์ความรู้

โครงการศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม “การซ่อมบูรณะงานศิลปกรรมแบบสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร (เครื่องศิราภรณ์)

ปีพุทธศักราช ๒๕๖๓ ศูนย์ศิลปะและการช่างไทย สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ได้รับจัดสรรงบประมาณโครงการศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม  “การซ่อมบูรณะงานศิลปกรรมแบบสำนักช่างสิบหมู่  กรมศิลปากร (เครื่องศิราภรณ์)  โดยคณะทำงานเลือกการซ่อมเครื่องศิราภรณ์ ที่เป็นของสำนักการสังคีต ดำเนินการซ่อมและรวบรวมข้อมูลนำมาเรียบเรียงเป็นองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม  “การซ่อมบูรณะงานศิลปกรรมแบบสำนักช่างสิบหมู่  (เครื่องศิราภรณ์)

โครงการสร้างต้นแบบเพื่อจัดทำองค์ความรู้การสร้างลวดลายในงานโลหะ

ยังไม่มีหลักฐานเป็นที่แน่ชัดว่ามนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ หรือมนุษย์ยุคหินในสมัยก่อน พบ โลหะได้อย่างไร แต่มีข้อสันนิษฐานว่ามนุษย์อาจค้นพบโลหะโดยการสังเกตจากธรรมชาติรอบกายด้วย ความบังเอิญ จากการที่มนุษย์ได้ออกไปล่าสัตว์ และพักแรม กลางป่า มนุษย์ในยุคหินใช้เครื่องมือเครื่องใช้ อาวุธ และเครื่องประดับที่ทำด้วยหิน ดินเผา กระดูก ไม้ เปลือกหอย เขาสัตว์ วัสดุธรรมชาติต่างๆ มาเป็น เวลานานนับหมื่นปีก่อนที่จะรู้จักโลหะ โลหะชนิดแรกๆ ที่มนุษย์รู้จักเป็นโลหะที่พบได้ในสภาพเป็น โลหะตามธรรมชาติ (native metal) ซึ่งมีอยู่ไม่กี่ชนิด ที่สาคัญได้แก่ ทองคำ เงิน ทองแดง ฯลฯ การที่ชุมชน ใดจะใช้โลหะชนิดใดขึ้นอยู่กับทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในบริเวณนั้น ทองแดงเป็นโลหะที่พบมากและพบ บ่อยในชุมชนโบราณสมัยก่อนประวัติศาสตร์หลายแห่งทั่วโลก เนื่องจากทองแดงเกิดขึ้นตามธรรมชาติ กระจัดกระจายทั่วไปในแทบทุกภูมิภาค ในขณะที่ทองคำและเงิน เกิดขึ้นอย่างจำกัดในบางภูมิภาคเท่านั้น

ความรู้ทั่วไป

การจัดสร้างประติมากรรม : ท้าวจตุโลกบาล

การจัดสร้างประติมากรรม : ท้าวจตุโลกบาล  เป็นการจัดสร้างศิลปกรรมประกอบนิทรรศการงานวันพ่อแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๖๒  ระหว่างวันที่ ๕ - ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๒  ณ ท้องสนามหลวง กรุงเทพมหานคร แนวความคิดในการออกแบบ :            การออกแบบภาพผู้ออกแบบออกแบบเป็นแบบไทยประเพณี  ในลักษณะนั่งอยู่บนก้อนเมฆ  สื่อถึงบรรยากาศแห่งสรวงสวรรค์  ท้าวจตุโลกบาล หรือท้าวจาตุมหาราช  คือ ผู้เป็นใหญ่ในสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา  เป็นสวรรค์ชั้นแรกและชั้นล่างสุดในฉกามาพจรภูมิ  เรียกสั้น ๆ ว่า ชั้นจาตุม  มีที่ตั้งอยู่บริเวณเชิงเขาพระสุเมรุ           จาตุมหาราชิกา แปลว่า ดินแดนเป็นที่อยู่ของท้าวมหาราชทั้งสี่  กล่าวคือสวรรค์ชั้นนี้เป็นดินแดนที่จอมเทพ ๔ องค์  ผู้รักษาคุ้มครองโลกใน ๔ ทิศ  ปกครองอยู่คนละทิศ  ทำหน้าที่ดูแลรักษาทั้งสี่ทิศ สอดส่องเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นรวมทั้งดูแลบริวารในอำนาจของตน   

การเขียนภาพราชสีห์ : องค์ความรู้จากครูช่าง นายอมร ศรีพจนารถ

"ราชสีห์" มีลวดลายไทยเป็นส่วนประกอบทั้งตัวและถือเป็นภาพสัตว์สำคัญในทางบ้านเมืองอีกด้วย เช่น เป็นรูปสลักโลหะรองรับที่พระแท่นภัทรบิฐ ภายใต้นพปฎลมหาเศวตฉัตร ในพระที่นั่งไพศาลทักษิณ พระบรมมหาราชวัง เป็นตราเครื่องหมายของกระทรวงมหาดไทย และสัสดีจังหวัดทุกจังหวัดในประเทศไทย แม้แต่ตราเครื่องหมายของกระทรวงกลาโหมก็มีส่วนประกอบอยู่ด้วยคู่กับรูปคชสีห์

ทะเบียนช่างสิบหมู่


ทะเบียนช่างไทย


  BACK TO TOP
jualtoto jualtoto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto ohtogel oh togel indosattoto indosat toto ohtogel oh togel ohtogel oh togel ohtogel oh togel jualtoto jual toto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto cahayatoto cahaya toto indosattoto indosat toto indosattoto indosat toto jualtoto ohtogel sisi368 jualtoto jualtoto sisi368 sisi368 sisi368 situs toto situs toto situs toto ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel sisi368 sisi368 sisi368 sisi368 sisi368 ohtogel