ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

จัดการความเป็นส่วนตัว

คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)

เปิดใช้งานตลอด
คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการ ใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการใน สาระสำคัญของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้

คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร จดจำตัวเลือกต่าง ๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วย ให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ เช่น ช่วยจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้งานของท่าน หรือจดจำการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าขนาดฟอนต์หรือการตั้งค่าต่าง ๆ ของหน้าเพจซึ่งท่านสามารถปรับแต่งได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน

image header.
ระบบศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร
image header.

ผลงาน

องค์ความรู้

โครงการศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม “การซ่อมบูรณะงานศิลปกรรมแบบสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร (เครื่องมุก)

ปีพุทธศักราช ๒๕๖๒ ศูนย์ศิลปะและการช่างไทย สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ได้รับจัดสรรงบประมาณโครงการศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม  “การซ่อมบูรณะงานศิลปกรรมแบบสำนักช่างสิบหมู่  กรมศิลปากร (เครื่องมุก)  โดยคณะทำงานเลือกการซ่อมบานประตูประดับมุกของหอพระมณเฑียรธรรม ซึ่งบานประตูประดับมุกคู่นี้นับว่ามีความเก่าแก่อีกชิ้นหนึ่งเป็นฝีมือชั้นครูที่มีความงดงามที่ยังคงหลงเหลืออยู่  นับตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเมื่อแรกสร้าง เป็นกรณีศึกษาและจัดทำองค์ความรู้ในครั้งนี้ โดยรวบรวมข้อมูลการซ่อมบูรณะบานประตูประดับมุกของหอพระมณเฑียรธรรมบานคู่เดิม ในระหว่างปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ ถึง ๒๕๕๙ ที่กลุ่มงานช่างปั้นหุ่น ช่างปั้นลายและช่างมุก ดำเนินการซ่อมบูรณะบานประตูประดับมุกของหอพระมณเฑียรธรรมบานคู่เดิม เพื่อเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร นำมาเรียบเรียงเป็นองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม  “การซ่อมบูรณะงานศิลปกรรมแบบสำนักช่างสิบหมู่  (เครื่องมุก)

โครงการสร้างต้นแบบเพื่อจัดทำองค์ความรู้ ด้านงานช่างประดับมุก

     งานช่างประดับมุก เป็นการปฏิบัติงานช่างประณีตศิลป์แขนงหนึ่งที่นำเปลือกหอยที่มีแสงสีแวววาว บางชนิดมาใช้ประดับเครื่องใช้ และที่อยู่อาศัยของมนุษย์ เป็นงานช่างที่ต้องใช้ฝีมือและความละเอียดอ่อนใน การปฏิบัติงานอย่างมากเพื่อประดับตกแต่งพื้นผิวของชิ้นงานในลักษณะต่างๆเช่น ภาชนะใช้สอยบางอย่าง ของมนุษย์ อาทิ พาน ,ตะลุ่ม ,โต๊ะ, ตู้ ,เตียบ ,เตียง ฯลฯ อีกทั้งสามารถประดับตกแต่งส่วนประกอบของอาคาร ที่อยู่อาศัยได้ด้วย เช่น ประตูและหน้าต่าง เป็นต้น ประเทศสยามในอดีตนิยมใช้งานประดับมุกเพื่อตอบสนอง ต่อสถาบันพระมหากษัตริย์และพระพุทธศาสนาเป็นส่วนใหญ่ สามัญชนจะไม่นิยมใช้ เนื่องด้วยถือว่าเป็น ของสูง มีค่าและทำได้ยาก ควรคู่แต่สถาบันอันสูงส่งเท่านั้น ตัวอย่างเช่น ประตูหน้าต่างของพระอุโบสถ , วิหาร และพระที่นั่งในพระบรมมหาราชวังบางองค์ เป็นต้น

ความรู้ทั่วไป

การออกแบบตราสัญลักษณ์ นิทรรศการพิเศษ เรื่อง "เซรามิกแห่งแหลมทองและแดนอาทิตย์อุทัย : สานตำนานสายใยไม่เสื่อมคลายในพาณิชยวัฒนธรรมโลก"

ตราสัญลักษณ์นิทรรศการพิเศษ เรื่อง "เซรามิกแห่งแหลมทองและแดนอาทิตย์อุทัย : สานตำนานสายใยไม่เสื่อมคลายในพาณิชยวัฒนธรรมโลก" ประกอบไปด้วยสัญลักษณ์ปลาคู่ อันหมายความถึงความมั่งคั่งสมบูรณ์  โดยด้านซ้ายเป็นลายปลากาซึ่งได้ต้นแบบแนวความคิดมาจากเครื่องสังคโลกในสมัยสุโขทัยที่นิยมวาดรูปปลาลงบนภาชนะ หมายถึงความอุดมสมบูรณ์ของบ้านเมืองดังคำกล่าวที่ว่า “ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว”  ด้านขวามือเป็นลายปลาคาร์ป  ซึ่งได้แนวความคิดมาจากสัญลักษณ์  ธงปลาคาร์ปของชาวญี่ปุ่น  โดยระหว่างปลาคู่ประดับด้วยช่อดอกราชพฤกษ์ดอกไม้ประจำชาติไทยและดอกซากุระเป็นดอกไม้ที่แสดงถึงเอกลักษณ์ความเป็นญี่ปุ่น ถัดลงมาด้านล่างระหว่างหางปลาทั้งสองมีธงชาติของทั้งสองประเทศเชื่อมต่อกัน หมายถึง ทั้งสองประเทศเป็นมิตรไมตรีต่อกัน มีการประสานร่วมมือกันในด้านต่าง ๆ รวมไปถึงงานเซรามิก ศิลปกรรมที่ทรงคุณค่าของทั้งสองประเทศ

ทะเบียนช่างสิบหมู่


ทะเบียนช่างไทย


  BACK TO TOP
jualtoto jualtoto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto ohtogel oh togel indosattoto indosat toto ohtogel oh togel ohtogel oh togel ohtogel oh togel jualtoto jual toto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto cahayatoto cahaya toto indosattoto indosat toto indosattoto indosat toto jualtoto ohtogel sisi368 jualtoto jualtoto sisi368 sisi368 sisi368 situs toto situs toto situs toto ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel sisi368 sisi368 sisi368 sisi368 sisi368 ohtogel