ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

จัดการความเป็นส่วนตัว

คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)

เปิดใช้งานตลอด
คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการ ใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการใน สาระสำคัญของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้

คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร จดจำตัวเลือกต่าง ๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วย ให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ เช่น ช่วยจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้งานของท่าน หรือจดจำการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าขนาดฟอนต์หรือการตั้งค่าต่าง ๆ ของหน้าเพจซึ่งท่านสามารถปรับแต่งได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน

image header.
ระบบศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร
image header.

ผลงาน

ตาลปัตร ภาพพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (เล่มที่ ๑)
ตาลปัตรในพิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน แบบที่ ๒  ภาพพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยออกแบบ  โดย  นายเกียรติศักดิ์  สุวรรณพงศ์   ผู้อำนวยการกลุ่มจิตรกรรมเขียนสี  โดย   นายกฤษฎา กันต์แจ่ม   ตำแหน่ง จิตรกร  -------------------------------------------------------------------------------สามารถรับชมข้อมูลการจัดสร้างตาลปัตร (ตอนที่ ๑) ได้จาก QR CODE ด้านล่างhttps://datasipmu.finearts.go.th/academic/51---------------------------------------------------------------------------------การจัดสร้างตาลปัตร (ตอนที่ ๒) ได้จาก QR CODE ด้านล่างhttps://datasipmu.finearts.go.th/academic/52------------------------------------------------------------------------------วีดิทัศน์การจัดสร้างตาลปัตร  ได้จาก QR CODE ด้านล่างhttps://datasipmu.finearts.go.th/portfolio/1223------------------------------------------------------------  

องค์ความรู้

โครงการสร้างต้นแบบเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม ความรู้ด้านการปิดทองทึบ

งานลงรักปิดทอง คาดว่าคงจะมีการสร้างงานประเภทนี้มานานมากแล้ว ดังที่มีคำกล่าว แต่โบราณมาว่าพระพุทธองค์ และพระอรหันต์บางองค์มีผิวพระวรกายดั่งทองทา แต่ด้วยทองคำเป็นโลหะธาตุไม่ใช่น้ำหรือของเหลวจะได้นำมาทาอะไรให้เป็นสีทองได้ และการรู้จักใช้ทองคำก็มีมาแต่สมัยพุทธกาลแล้วดังที่ปรากฏในพระไตรปิฏก ว่านางสุชาดา ถวายข้าวมธุปายาสใส่ภาชนะถาดทองคำแด่พระพุทธองค์ส่วนงานช่างปิดทองนั้น คงจะมีการพยายามหาวิธีการทางช่างที่จะใช้ทองอย่างประหยัดบนพื้นที่กว้าง จึงได้คิดหาวิธีนำทองคำมาตีแผ่เป็นแผ่นบางแล้วหุ้มวัตถุที่ต้องการให้ดูเป็นทองทั้งหมด ซึ่งก็ยังต้องใช้ทองจำนวนมากอยู่จึงคิดค้นหาวิธีต่อไปว่าทำอย่างไรจึงจะประหยัดทองให้ได้มากที่สุด จึงได้เกิดการตีทองให้บางยิ่งขึ้น จนเป็นทองคำเปลว แล้วหาวิธีการปิดทับผิววัสดุที่ต้องการให้เป็นทองนั้นด้วยสารเหนียว เช่น ยางไม้ประเภทต่าง ๆ และยางที่ดีที่สุด ก็ได้แก่ ยางของต้นรักใหญ่ หรือรักน้ำเกลี้ยง เมื่อได้ยางรักจากต้นแล้วต้องนำมากรองให้รักสะอาดปราศจากผงฝุ่น ยางของรักมีสีน้ำตาลดำ และสีดำสนิท นำมาทาพื้นวัสดุที่จะปิดทองเมื่อมีความเหนียวพอเหมาะ จึงใช้ทองคำเปลวปิดลงไปให้ทั่ว จึงดูแล้วรู้สึกหรือเห็นวัสดุนั้นเป็นสีทองสุกปลั่งเหมือนดั่งว่าเป็นทองคำทั้งชิ้นงาน งานช่างปิดทองจึงเป็นงานที่คู่กับงานชา่ งรักมาโดยตลอด..

โครงการศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม “การซ่อมบูรณะงานศิลปกรรมแบบสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร (งานปิดทอง งานประดับกระจก)กรณีศึกษา งานซ่อมตะลุ่มประดับกระจกบางของวัดชนะสงคราม

การจัดทำเอกสารองค์ความรู้เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งในโครงการศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำองค์ความรู้ทางด้านศิลปกรรมประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ด้านการซ่อมบูรณะงานศิลปกรรมแบบสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ด้านงานปิดทองงานประดับกระจก ในงานซ่อมตะลุ่มประดับกระจกบางของวัดชนะสงคราม โดยจะมีการบรรยายถึงกรรมวิธีการทำกระจกบางเพื่อใช้เป็นวัสดุทดแทนกระจกเดิมที่ชำรุดเสียหาย การตัดกระจก และการประดับกระจก สืบเนืองมาจากทางวัดชนะสงครามได้ขอความอนุเคราะห์จากสำนักช่างสิบหมู่ช่วยเหลือบูรณซ่อมแซมตะลุ่มประดับกระจกที่ชำรุดเสียหายจำนวน ๒ ใบ ด้วยเห็นว่าทางกลุ่มงานช่างปิดทองประดับกระจกและช่างสนะไทย กลุ่มประณีตศิลป์ กรมศิลปากร มีความชำนาญทางด้านงานประณีตศิลป์ จึงได้ขอความอนุเคราะห์ให้ซ่อมแซมตะลุ่มเพื่อให้กลับคงสภาพสมบูรณ์รักษาไว้ให้อนุชนรุ่นหลังสืบต่อไป ทางกลุ่มงานช่างปิดทองประดับกระจกและสนะไทยยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้รับความไว้วางใจให้ซ่อมบูรณะตะลุ่มประดับกระจก ทั้ง ๒ ใบนี้ บัดนี้ได้ทำการซ่อมแซมตะลุ่มประดับกระจกบางเสร็จสมบูรณ์ และได้ทำการส่งมอบกลับคืนให้ทางวัดชนะสงครามเป็นที่เรียนร้อยแล้ว ด้วยทางกลุ่มงานช่างปิดทองเล็งเห็นว่าในการซ่อมแซมตะลุ่มประดับกระจกบางในครั้งนี้มีเทคนิคพิเศษหลายอย่างที่น่าสนใจควรแก่การจดบันทึก จึงได้จัดทำเอกสารองค์ความรู้นี้ขึ้น เพื่อเป็นองค์ความรู้ให้ชนรุ่นหลังต่อไป

ความรู้ทั่วไป

การเขียนภาพหงส์ : องค์ความรู้จากครูช่าง นายอมร ศรีพจนารถ

          ในภาพศิลปะไทยหงส์  หมายถึง  สัตว์ที่ประดิษฐ์ขึ้นมีลักษณะคล้ายห่าน  คอยาวและตัวโตกว่า  แต่ในส่วนที่เป็นหัวของหงส์นี้  เมื่อดูเปรียบเทียบกับสัตว์น้ำชนิดหนึ่ง คือ ม้าน้ำ หัวและคอคล้ายกันมาก  ชะรอยช่างศิลปะไทยโบราณที่ประดิษฐ์ขึ้นน่าจะเอามาผสมกันเป็นแน่  แต่คงลักษณะคอและปีกให้เป็นนก (สัตว์ทวิบาท) อยู่และส่วนที่เป็นหางก็ใช้กระหนกครึ่งซีก  ซึ่งประดิษฐ์มาจากครึ่งซีกของดอกบัวอ่อนหรือดอกบัวตูม  มาปะติดปะต่อจนได้เป็นรูปของสัตว์ปีกชนิดหนึ่งขนานนามว่า “หงส์”

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ ๒ : การปั้นเซรามิค

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางด้านศิลปกรรม ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕ “เสริมสร้างทักษะความรู้ แนวคิดในการสืบทอดงานศิลปกรรมสำนักช่างสิบหมู่ ด้านเซรามิค" หลักสูตรการเสริมสร้างทักษะความรู้ แนวคิดในการสืบทอดงานศิลปกรรมสำนักช่างสิบหมู่ ด้านงานเซรามิค เป็นการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านศิลปกรรมในสถานที่ตั้งให้กับบุคลากรของสำนักช่างสิบหมู่   ครั้งที่ ๑ การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ  ณ สถานที่ตั้ง (ระยะเวลา ๒ วันทำการ) ระหว่างวันที่ ๑๗ – ๑๘  พฤาภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕  หัวข้อ “เสริมสร้างทักษะความรู้  แนวคิดในการสืบทอดงานศิลปกรรมสำนักช่างสิบหมู่ ด้านงานเซรามิค : การเขียนลายบนงานเซรามิค” QR CODE : ภาพบรรยากาศพิธีเปิดและการฝึกอบรม ครั้งที่ ๒ การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ  ณ สถานที่ตั้ง (ระยะเวลา ๕ วันทำการ) ระหว่างวันที่ ๓๑ พฤษภาคม – ๑  มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๕ หัวข้อ “เสริมสร้างทักษะความรู้  แนวคิดในการสืบทอดงานศิลปกรรมสำนักช่างสิบหมู่ ด้านงานเซรามิค : การปั้นเซรามิค"

ทะเบียนช่างสิบหมู่


ทะเบียนช่างไทย


  BACK TO TOP
jualtoto jualtoto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto ohtogel oh togel indosattoto indosat toto ohtogel oh togel ohtogel oh togel ohtogel oh togel jualtoto jual toto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto cahayatoto cahaya toto indosattoto indosat toto indosattoto indosat toto jualtoto ohtogel sisi368 jualtoto jualtoto sisi368 sisi368 sisi368 situs toto situs toto situs toto ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel sisi368 sisi368 sisi368 sisi368 sisi368 ohtogel