ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

จัดการความเป็นส่วนตัว

คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)

เปิดใช้งานตลอด
คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการ ใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการใน สาระสำคัญของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้

คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร จดจำตัวเลือกต่าง ๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วย ให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ เช่น ช่วยจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้งานของท่าน หรือจดจำการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าขนาดฟอนต์หรือการตั้งค่าต่าง ๆ ของหน้าเพจซึ่งท่านสามารถปรับแต่งได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน

image header.
ระบบศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร
image header.

ภาพช่างไทย: นาย บุญชัย ทองเจริญบัวงาม
นาย บุญชัย ทองเจริญบัวงาม

อาจารย์พิเศษโรงเรียนจิตรลดา (มัธยม) และโรงเรียนจิตรลดาวิชาชีพ อาจารย์พิเศษวิชาไทยศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอำนวยการขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ที่ปรึกษาด้านผ้าจกของพิพิธภัณฑ์ผ้าฯ ในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ณ หอรัษฎากรพิพัฒน์ ในพระบรมมหาราชวัง
-  หัวหน้าควบคุมเครื่องสด (งานช่างแทงหยวก) ในงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
-  ดูแลการจัดทำเครื่องสดประดับพระจิตกาธาน ในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ช่างแทงหยวกมีเกือบจะทั่วทุกภูมิภาค เพราะเรามีจารีตประเพณีการเผาศพ ฉะนั้นภาคอีสานก็มี ภาคใต้ก็มี เราจะเจอในสงขลา นครศรีธรรมราช และพัทลุง ในศาสนาของไทยพุทธ ซึ่งเขาก็ทำกันในชุมชนของเขา

อย่างภาคใต้ จะมีประเพณีการไหว้ครูโนราโรงครู การแทงเข้ ก็จะใช้การแทงหยวกประดับ การรดน้ำไหว้ครู หรือการทำปะรำต่างๆ แล้วก็มีการเผาศพในป่าช้า ภาคอีสานจะมีในฮีต 12 คอง 14 ในงานปราสาทผึ้ง เราก็พอได้เห็น แล้วก็ได้เห็นในจังหวัดหนองคาย ในดินแดนที่อยู่ตามตะเข็บริมแม่น้ำโขง

สำหรับภาคกลาง สมัยก่อนมีช่างแทงหยวกตามวัดต่างๆ มากมายเหลือเกิน วัดไหนช่างฝีมือแทงหยวกฝีไม้ลายมือดีก็จะมีงานเผาศพมาก เพราะงานเผาศพที่ประดับประดาด้วยงานแทงหยวก ถือเป็นวิมานของคนตายครั้งสุดท้าย ต่อมาเริ่มมีเมรุเผาศพเข้ามา การแทงหยวกก็เริ่มลดน้อยลง เหลืออยู่ที่เพชรบุรี มีการเผาศพด้วยลูกโกศต่างๆ มีช่างอยู่ในชุมชนต่างๆ ที่ขึ้นชื่อก็มี คุณครูประสม สุสุทธิ คุณครูเลี่ยม เครือนาค


งานเครื่องสดประดับพระจิตกาธาน แบ่งได้เป็น 3 ส่วน 1.งานแทงหยวก 2.งานแกะสลักของอ่อน ใช้พิมพ์ทองเหลืองกดลงไปในเปลือกมะละกอ แล้วซ้อนชั้นขึ้นมา เรียกว่า “ลายหยวกถม” มี 3 ลาย คือลายประจำยาม ลายดอกจอก และลายใบเทศ ปฏิบัติกันมานานแล้ว แต่ไม่ได้เผยแพร่

งานนี้จึงเป็นสิ่งที่ทุกคนไม่เคยเห็นไม่เคยสัมผัสว่า พิมพ์โบราณที่เราได้ทำขึ้นมาและใช้เฉพาะในงานพระบรมศพเท่านั้น จะไม่มีการแกะเป็นดอกเป็นดวงเหมือนงานศพทั่วไป

3.งานกรองดอกไม้ ทั้งสามส่วนรวมกันเรียกว่า “เครื่องสดประดับพระจิตกาธาน”

ส่วนงานประดิษฐ์เทวดาประดับชั้นเรือนไฟ เป็นสิ่งที่ช่างของกองศิลปกรรม สำนักพระราชวัง ได้ระดมความคิดแล้วก็ทำถวายขึ้นมา ซึ่งแต่เดิมโบราณราชประเพณีไม่มี เพราะลักษณะองค์พระจิตกาธานมีความสูงใหญ่ เราคิดว่าทำอย่างไรจะปิดช่องว่างได้ ส่งให้องค์พระจิตกาธานมีความสง่า มีความงดงาม และเพิ่มความวิจิตรพิสดารเข้าไป

อาจารย์พิเศษโรงเรียนจิตรลดา (มัธยม) และโรงเรียนจิตรลดาวิชาชีพ อาจารย์พิเศษวิชาไทยศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอำนวยการขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ที่ปรึกษาด้านผ้าจกของพิพิธภัณฑ์ผ้าฯ ในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ณ หอรัษฎากรพิพัฒน์ ในพระบรมมหาราชวัง

-

จำนวนผู้เข้าชม 275 คน
  BACK TO TOP
jualtoto jualtoto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto ohtogel oh togel indosattoto indosat toto ohtogel oh togel ohtogel oh togel ohtogel oh togel jualtoto jual toto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto cahayatoto cahaya toto indosattoto indosat toto indosattoto indosat toto jualtoto ohtogel sisi368 jualtoto jualtoto sisi368 sisi368 sisi368 situs toto situs toto situs toto ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel sisi368 sisi368 sisi368 sisi368 sisi368