ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

จัดการความเป็นส่วนตัว

คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)

เปิดใช้งานตลอด
คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการ ใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการใน สาระสำคัญของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้

คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร จดจำตัวเลือกต่าง ๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วย ให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ เช่น ช่วยจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้งานของท่าน หรือจดจำการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าขนาดฟอนต์หรือการตั้งค่าต่าง ๆ ของหน้าเพจซึ่งท่านสามารถปรับแต่งได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน

image header.
ระบบศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร
image header.


องค์ความรู้


โครงการฝึกอบรมสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชนเมืองโบราณศรีเทพ - งานเทียนเจล
งานช่างสิบหมู่ คือ รากฐานของงานศิลปกรรมไทยที่แสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของชาติ ควรค่าแก่การอนุรักษ์และสืบทอด สานต่อให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้ จนเกิดความรัก ความซาบซึ้ง และความภาคภูมิใจ ในความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย งานศิลปกรรมด้านช่างสิบหมู่ ภายใต้การกำกับดูแลของ กลุ่มประณีตศิลป์ สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ประกอบไปด้วย งานช่างเขียน  งานช่างลายรดน้ำ งานช่างหุ่นช่างปั้นลาย งานช่างประดับมุก งานช่างบุ งานช่างศิราภรณ์ งานช่างแกะสลัก งานช่างไม้ประณีต งานช่างปิดทอง งานช่างประดับกระจก และงานช่างสนะ ซึ่งล้วนเป็นงานที่มีคุณค่าและมีลักษณะเฉพาะของงาน  แต่ละประเภท ที่แตกต่างกันไป   ในการปฏิบัติงานที่จะให้ประสบความสำเร็จและบรรลุวัตถุประสงค์ ซึ่งสำนักช่างสิบหมู่ได้ดำเนินการมาโดยตลอดคือการให้การศึกษา ส่งเสริม  ฟื้นฟู  และเผยแพร่ความรู้ รวมถึงการจัดกิจกรรม    ที่เป็นประโยชน์ ต่อเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ผู้ที่สนใจศึกษาวิชาด้านช่างศิลปกรรม  และประชาชนทั่วไปที่สนใจ ให้ได้รับความรู้ทั้งด้านวิชาการและการปฏิบัติงาน เพื่อเป็นแบบอย่างในการเรียนรู้ให้สามารถสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปกรรมที่มีคุณค่า สำนักช่างสิบหมู่จึงจัดทำโครงการฝึกอบรมการสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชนเมืองโบราณศรีเทพ  เพื่อตอบสนองนโยบายซอฟต์ พาวเวอร์ (Soft Power) ของกระทรวงวัฒนธรรม กรมศิลปากร ในการเผยแพร่งานศิลปกรรมด้านงานช่างสิบหมู่ เพื่อสืบสาน ต่อยอด สร้างงาน สร้างอาชีพ ให้แก่ชุมชนได้นำไปต่อยอดและสามารถสร้างอาชีพ สร้างรายได้ ให้แก่ครัวเรือน ทำให้งานศิลปกรรมเกิดคุณค่ารวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มทางด้านเศรษฐกิจให้กับชุมชนได้เป็นอย่างดี โดยกรมศิลปากร สนับสนุนให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ให้แก่ชุมชม โดยสามารถนำไปต่อยอดสร้างเป็นอาชีพได้  โดยมีวิทยากรผู้ชำนาญการของสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เป็นผู้ดำเนินการถ่ายทอดให้ความรู้ และประสบการณ์ อันเป็นประโยชน์โดยรวมแก่ชุมชน นอกจากนั้นโครงการฝึกอบรมการสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชน ยังเป็นกิจกรรมที่กำหนดขึ้นเพื่อฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ในระดับพื้นฐานของงานช่างศิลปกรรมประเภทต่าง ๆ โดยสารมารถเสริมสร้างทักษะในงานด้านศิลปกรรมให้สามารถต่อยอดความรู้และนำไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ ให้แก่ครัวเรือน สามารถนำความรู้มาสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับชุมชนต่อไป     ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ โครงการฝึกอบรมการสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชน เมืองโบราณศรีเทพ  จังหวัดเพชรบูรณ์ จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ทักษะด้านงานศิลปกรรม โดยหวังว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรม    จะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดเพื่อประกอบเป็นอาชีพ สร้างรายได้ หรือสามารถถ่ายทอดความรู้รวมถึงเป็นการสร้างเครือข่ายด้านงานช่างศิลปกรรมของสำนักช่างสิบหมู่ในลำดับต่อไป    
ปีงบประมาณที่สร้างงาน 2567
โครงการฝึกอบรมสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชนเมืองโบราณศรีเทพ - งานลายฉลุประคบสี
งานช่างสิบหมู่ คือ รากฐานของงานศิลปกรรมไทยที่แสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของชาติ ควรค่าแก่การอนุรักษ์และสืบทอด สานต่อให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้ จนเกิดความรัก ความซาบซึ้ง และความภาคภูมิใจ ในความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย งานศิลปกรรมด้านช่างสิบหมู่ ภายใต้การกำกับดูแลของ กลุ่มประณีตศิลป์ สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ประกอบไปด้วย งานช่างเขียน  งานช่างลายรดน้ำ งานช่างหุ่นช่างปั้นลาย งานช่างประดับมุก งานช่างบุ งานช่างศิราภรณ์ งานช่างแกะสลัก งานช่างไม้ประณีต งานช่างปิดทอง งานช่างประดับกระจก และงานช่างสนะ ซึ่งล้วนเป็นงานที่มีคุณค่าและมีลักษณะเฉพาะของงาน  แต่ละประเภท ที่แตกต่างกันไป   ในการปฏิบัติงานที่จะให้ประสบความสำเร็จและบรรลุวัตถุประสงค์ ซึ่งสำนักช่างสิบหมู่ได้ดำเนินการมาโดยตลอดคือการให้การศึกษา ส่งเสริม  ฟื้นฟู  และเผยแพร่ความรู้ รวมถึงการจัดกิจกรรม    ที่เป็นประโยชน์ ต่อเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ผู้ที่สนใจศึกษาวิชาด้านช่างศิลปกรรม  และประชาชนทั่วไปที่สนใจ ให้ได้รับความรู้ทั้งด้านวิชาการและการปฏิบัติงาน เพื่อเป็นแบบอย่างในการเรียนรู้ให้สามารถสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปกรรมที่มีคุณค่า สำนักช่างสิบหมู่จึงจัดทำโครงการฝึกอบรมการสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชนเมืองโบราณศรีเทพ  เพื่อตอบสนองนโยบายซอฟต์ พาวเวอร์ (Soft Power) ของกระทรวงวัฒนธรรม กรมศิลปากร ในการเผยแพร่งานศิลปกรรมด้านงานช่างสิบหมู่ เพื่อสืบสาน ต่อยอด สร้างงาน สร้างอาชีพ ให้แก่ชุมชนได้นำไปต่อยอดและสามารถสร้างอาชีพ สร้างรายได้ ให้แก่ครัวเรือน ทำให้งานศิลปกรรมเกิดคุณค่ารวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มทางด้านเศรษฐกิจให้กับชุมชนได้เป็นอย่างดี โดยกรมศิลปากร สนับสนุนให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ให้แก่ชุมชม โดยสามารถนำไปต่อยอดสร้างเป็นอาชีพได้  โดยมีวิทยากรผู้ชำนาญการของสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เป็นผู้ดำเนินการถ่ายทอดให้ความรู้ และประสบการณ์ อันเป็นประโยชน์โดยรวมแก่ชุมชน นอกจากนั้นโครงการฝึกอบรมการสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชน ยังเป็นกิจกรรมที่กำหนดขึ้นเพื่อฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ในระดับพื้นฐานของงานช่างศิลปกรรมประเภทต่าง ๆ โดยสารมารถเสริมสร้างทักษะในงานด้านศิลปกรรมให้สามารถต่อยอดความรู้และนำไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ ให้แก่ครัวเรือน สามารถนำความรู้มาสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับชุมชนต่อไป     ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ โครงการฝึกอบรมการสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชน เมืองโบราณศรีเทพ  จังหวัดเพชรบูรณ์ จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ทักษะด้านงานศิลปกรรม โดยหวังว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรม    จะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดเพื่อประกอบเป็นอาชีพ สร้างรายได้ หรือสามารถถ่ายทอดความรู้รวมถึงเป็นการสร้างเครือข่ายด้านงานช่างศิลปกรรมของสำนักช่างสิบหมู่ในลำดับต่อไป    
ปีงบประมาณที่สร้างงาน 2567
โครงการฝึกอบรมสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชนเมืองโบราณศรีเทพ - งานปั้นประดิษฐ์
งานช่างสิบหมู่ คือ รากฐานของงานศิลปกรรมไทยที่แสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของชาติ ควรค่าแก่การอนุรักษ์และสืบทอด สานต่อให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้ จนเกิดความรัก ความซาบซึ้ง และความภาคภูมิใจ ในความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย งานศิลปกรรมด้านช่างสิบหมู่ ภายใต้การกำกับดูแลของ กลุ่มประณีตศิลป์ สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ประกอบไปด้วย งานช่างเขียน  งานช่างลายรดน้ำ งานช่างหุ่นช่างปั้นลาย งานช่างประดับมุก งานช่างบุ งานช่างศิราภรณ์ งานช่างแกะสลัก งานช่างไม้ประณีต งานช่างปิดทอง งานช่างประดับกระจก และงานช่างสนะ ซึ่งล้วนเป็นงานที่มีคุณค่าและมีลักษณะเฉพาะของงาน  แต่ละประเภท ที่แตกต่างกันไป   ในการปฏิบัติงานที่จะให้ประสบความสำเร็จและบรรลุวัตถุประสงค์ ซึ่งสำนักช่างสิบหมู่ได้ดำเนินการมาโดยตลอดคือการให้การศึกษา ส่งเสริม  ฟื้นฟู  และเผยแพร่ความรู้ รวมถึงการจัดกิจกรรม    ที่เป็นประโยชน์ ต่อเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ผู้ที่สนใจศึกษาวิชาด้านช่างศิลปกรรม  และประชาชนทั่วไปที่สนใจ ให้ได้รับความรู้ทั้งด้านวิชาการและการปฏิบัติงาน เพื่อเป็นแบบอย่างในการเรียนรู้ให้สามารถสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปกรรมที่มีคุณค่า สำนักช่างสิบหมู่จึงจัดทำโครงการฝึกอบรมการสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชนเมืองโบราณศรีเทพ  เพื่อตอบสนองนโยบายซอฟต์ พาวเวอร์ (Soft Power) ของกระทรวงวัฒนธรรม กรมศิลปากร ในการเผยแพร่งานศิลปกรรมด้านงานช่างสิบหมู่ เพื่อสืบสาน ต่อยอด สร้างงาน สร้างอาชีพ ให้แก่ชุมชนได้นำไปต่อยอดและสามารถสร้างอาชีพ สร้างรายได้ ให้แก่ครัวเรือน ทำให้งานศิลปกรรมเกิดคุณค่ารวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มทางด้านเศรษฐกิจให้กับชุมชนได้เป็นอย่างดี โดยกรมศิลปากร สนับสนุนให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ให้แก่ชุมชม โดยสามารถนำไปต่อยอดสร้างเป็นอาชีพได้  โดยมีวิทยากรผู้ชำนาญการของสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เป็นผู้ดำเนินการถ่ายทอดให้ความรู้ และประสบการณ์ อันเป็นประโยชน์โดยรวมแก่ชุมชน นอกจากนั้นโครงการฝึกอบรมการสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชน ยังเป็นกิจกรรมที่กำหนดขึ้นเพื่อฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ในระดับพื้นฐานของงานช่างศิลปกรรมประเภทต่าง ๆ โดยสารมารถเสริมสร้างทักษะในงานด้านศิลปกรรมให้สามารถต่อยอดความรู้และนำไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ ให้แก่ครัวเรือน สามารถนำความรู้มาสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับชุมชนต่อไป     ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ โครงการฝึกอบรมการสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชน เมืองโบราณศรีเทพ  จังหวัดเพชรบูรณ์ จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ทักษะด้านงานศิลปกรรม โดยหวังว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรม    จะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดเพื่อประกอบเป็นอาชีพ สร้างรายได้ หรือสามารถถ่ายทอดความรู้รวมถึงเป็นการสร้างเครือข่ายด้านงานช่างศิลปกรรมของสำนักช่างสิบหมู่ในลำดับต่อไป    
ปีงบประมาณที่สร้างงาน 2567
โครงการฝึกอบรมสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชนเมืองโบราณศรีเทพ - การฉลุลายซ้อนโฟม
งานช่างสิบหมู่ คือ รากฐานของงานศิลปกรรมไทยที่แสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของชาติ ควรค่าแก่การอนุรักษ์และสืบทอด สานต่อให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้ จนเกิดความรัก ความซาบซึ้ง และความภาคภูมิใจ ในความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย งานศิลปกรรมด้านช่างสิบหมู่ ภายใต้การกำกับดูแลของ กลุ่มประณีตศิลป์ สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ประกอบไปด้วย งานช่างเขียน  งานช่างลายรดน้ำ งานช่างหุ่นช่างปั้นลาย งานช่างประดับมุก งานช่างบุ งานช่างศิราภรณ์ งานช่างแกะสลัก งานช่างไม้ประณีต งานช่างปิดทอง งานช่างประดับกระจก และงานช่างสนะ ซึ่งล้วนเป็นงานที่มีคุณค่าและมีลักษณะเฉพาะของงาน  แต่ละประเภท ที่แตกต่างกันไป   ในการปฏิบัติงานที่จะให้ประสบความสำเร็จและบรรลุวัตถุประสงค์ ซึ่งสำนักช่างสิบหมู่ได้ดำเนินการมาโดยตลอดคือการให้การศึกษา ส่งเสริม  ฟื้นฟู  และเผยแพร่ความรู้ รวมถึงการจัดกิจกรรม    ที่เป็นประโยชน์ ต่อเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ผู้ที่สนใจศึกษาวิชาด้านช่างศิลปกรรม  และประชาชนทั่วไปที่สนใจ ให้ได้รับความรู้ทั้งด้านวิชาการและการปฏิบัติงาน เพื่อเป็นแบบอย่างในการเรียนรู้ให้สามารถสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปกรรมที่มีคุณค่า สำนักช่างสิบหมู่จึงจัดทำโครงการฝึกอบรมการสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชนเมืองโบราณศรีเทพ  เพื่อตอบสนองนโยบายซอฟต์ พาวเวอร์ (Soft Power) ของกระทรวงวัฒนธรรม กรมศิลปากร ในการเผยแพร่งานศิลปกรรมด้านงานช่างสิบหมู่ เพื่อสืบสาน ต่อยอด สร้างงาน สร้างอาชีพ ให้แก่ชุมชนได้นำไปต่อยอดและสามารถสร้างอาชีพ สร้างรายได้ ให้แก่ครัวเรือน ทำให้งานศิลปกรรมเกิดคุณค่ารวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มทางด้านเศรษฐกิจให้กับชุมชนได้เป็นอย่างดี โดยกรมศิลปากร สนับสนุนให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ให้แก่ชุมชม โดยสามารถนำไปต่อยอดสร้างเป็นอาชีพได้  โดยมีวิทยากรผู้ชำนาญการของสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เป็นผู้ดำเนินการถ่ายทอดให้ความรู้ และประสบการณ์ อันเป็นประโยชน์โดยรวมแก่ชุมชน นอกจากนั้นโครงการฝึกอบรมการสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชน ยังเป็นกิจกรรมที่กำหนดขึ้นเพื่อฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ในระดับพื้นฐานของงานช่างศิลปกรรมประเภทต่าง ๆ โดยสารมารถเสริมสร้างทักษะในงานด้านศิลปกรรมให้สามารถต่อยอดความรู้และนำไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ ให้แก่ครัวเรือน สามารถนำความรู้มาสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับชุมชนต่อไป     ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ โครงการฝึกอบรมการสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชน เมืองโบราณศรีเทพ  จังหวัดเพชรบูรณ์ จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ทักษะด้านงานศิลปกรรม โดยหวังว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรม    จะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดเพื่อประกอบเป็นอาชีพ สร้างรายได้ หรือสามารถถ่ายทอดความรู้รวมถึงเป็นการสร้างเครือข่ายด้านงานช่างศิลปกรรมของสำนักช่างสิบหมู่ในลำดับต่อไป      
ปีงบประมาณที่สร้างงาน 2567
โครงการฝึกอบรมสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชนเมืองโบราณศรีเทพ - งานทำแม่พิมพ์ยางซิลิโคนต้นแบบนูนต่ำ
งานช่างสิบหมู่ คือ รากฐานของงานศิลปกรรมไทยที่แสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของชาติ ควรค่าแก่การอนุรักษ์และสืบทอด สานต่อให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้ จนเกิดความรัก ความซาบซึ้ง และความภาคภูมิใจ ในความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย งานศิลปกรรมด้านช่างสิบหมู่ ภายใต้การกำกับดูแลของ กลุ่มประณีตศิลป์ สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ประกอบไปด้วย งานช่างเขียน  งานช่างลายรดน้ำ งานช่างหุ่นช่างปั้นลาย งานช่างประดับมุก งานช่างบุ งานช่างศิราภรณ์ งานช่างแกะสลัก งานช่างไม้ประณีต งานช่างปิดทอง งานช่างประดับกระจก และงานช่างสนะ ซึ่งล้วนเป็นงานที่มีคุณค่าและมีลักษณะเฉพาะของงาน  แต่ละประเภทที่แตกต่างกันไป             ในการปฏิบัติงานที่จะให้ประสบความสำเร็จและบรรลุวัตถุประสงค์ ซึ่งสำนักช่างสิบหมู่ได้ดำเนินการมาโดยตลอดคือการให้การศึกษา ส่งเสริม  ฟื้นฟู  และเผยแพร่ความรู้ รวมถึงการจัดกิจกรรม    ที่เป็นประโยชน์ ต่อเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ผู้ที่สนใจศึกษาวิชาด้านช่างศิลปกรรม  และประชาชนทั่วไปที่สนใจ ให้ได้รับความรู้ทั้งด้านวิชาการและการปฏิบัติงาน เพื่อเป็นแบบอย่างในการเรียนรู้ให้สามารถสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปกรรมที่มีคุณค่า สำนักช่างสิบหมู่จึงจัดทำโครงการฝึกอบรมการสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชนเมืองโบราณศรีเทพ  เพื่อตอบสนองนโยบายซอฟต์ พาวเวอร์ (Soft Power) ของกระทรวงวัฒนธรรม กรมศิลปากร ในการเผยแพร่งานศิลปกรรมด้านงานช่างสิบหมู่ เพื่อสืบสาน ต่อยอด สร้างงาน สร้างอาชีพ ให้แก่ชุมชนได้นำไปต่อยอดและสามารถสร้างอาชีพ สร้างรายได้ ให้แก่ครัวเรือน ทำให้งานศิลปกรรมเกิดคุณค่ารวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มทางด้านเศรษฐกิจให้กับชุมชนได้เป็นอย่างดี โดยกรมศิลปากร สนับสนุนให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ให้แก่ชุมชม โดยสามารถนำไปต่อยอดสร้างเป็นอาชีพได้  โดยมีวิทยากรผู้ชำนาญการของสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เป็นผู้ดำเนินการถ่ายทอดให้ความรู้ และประสบการณ์ อันเป็นประโยชน์โดยรวมแก่ชุมชน นอกจากนั้นโครงการฝึกอบรมการสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชน ยังเป็นกิจกรรมที่กำหนดขึ้นเพื่อฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ในระดับพื้นฐานของงานช่างศิลปกรรมประเภทต่าง ๆ โดยสารมารถเสริมสร้างทักษะในงานด้านศิลปกรรมให้สามารถต่อยอดความรู้และนำไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ ให้แก่ครัวเรือน สามารถนำความรู้มาสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับชุมชนต่อไป               ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ โครงการฝึกอบรมการสร้างงานศิลปกรรมแก่ชุมชน เมืองโบราณศรีเทพ  จังหวัดเพชรบูรณ์ จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ทักษะด้านงานศิลปกรรม โดยหวังว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดเพื่อประกอบเป็นอาชีพ สร้างรายได้ หรือสามารถถ่ายทอดความรู้รวมถึงเป็นการสร้างเครือข่ายด้านงานช่างศิลปกรรมของสำนักช่างสิบหมู่ในลำดับต่อไป      
ปีงบประมาณที่สร้างงาน 2567
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสำนักช่างสิบหมู่ ประจำปี ๒๕๕๖
สำนักช่างสิบหมู่ นำเสนอ E – book รายงานสรุปการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ "การสร้างงานเครื่องรักแบบญี่ปุ่น" โดย วิทยากรศิลปินชาวญี่ปุ่น Mr.KIYOSHI MIYAGI ในโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางด้านศิลปกรรม  ประจำปีงบประมาณ  ๒๕๕๖"ด้านเครื่องรักระหว่างประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่น"           สำนักช่างสิบหมู่เป็นหน่วยงานหนึ่งในกรมศิลปากรที่มีหน้าที่ในการผดุงรักษา ฟื้นฟู สืบทอดศิลปะวิทยาการทางด้านช่างฝีมือ ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนาและสร้างสรรค์งานด้านช่างศิลปกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติ และเป็นศูนย์ข้อมูลด้านศิลปกรรมของชาติ ถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ประชาชน ประกอบด้วยกลุ่มประณีตศิลป์ กลุ่มประติมากรรม กลุ่มจิตรกรรม กลุ่มศิลปประยุกต์และเครื่องเคลือบดินเผา และศูนย์ศิลปะและการช่างไทย            สำนักช่างสิบหมู่ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการแลกเปลี่ยนความรู้ทางด้านช่าง ศิลปกรรมระหว่างประเทศไทยและนานาประเทศ อันก่อให้เกิดประโยชน์เป็นการพัฒนาศักยภาพบุคลากรแก่บุคลากรภายใน หน่วยงานให้ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น ทัศนคติในการทำงาน เรียนรู้ เทคนิค วิธีการ เปรียบเทียบ นำไปสู่การสร้างสรรค์และการเผยแพร่ด้านศิลปกรรมกับศิลปินต่างประเทศ หน่วยงานได้เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ผลงานให้เป็นที่รู้จักและยอมรับในนานา ประเทศและสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ทางด้านศิลปกรรม กระชับความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ            สืบเนื่องจากการที่สำนักช่าง สิบหมู่ได้ดำเนินโครงการศึกษาดูงานด้านเครื่องรัก ณ ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ ๒๖ มิถุนายน – ๓ กรกฎาคม  พุทธศักราช ๒๕๕๕  ณ  โอกินาวา  นารา และทาคามัตสึ โดยได้มีการศึกษาดูงาน ณ สตูดิโอของศิลปินแห่งชาติด้านเทคนิคเครื่องมุก อาจารย์คิตะมูระศิลปินด้านเครื่องมุกที่มีชื่อเสียงของจังหวัดโอกินาวา  อาจารย์มาเอดะและอาจารย์มิยากิได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความคิดเห็นในการสร้างสรรค์ผลงานด้านเครื่องรัก และได้ศึกษาดูงาน ณ พิพิธภัณฑ์และสถานที่สำคัญอีกหลายแห่ง  จากการศึกษาดูงานครั้งนี้คณะเดินทางได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่งจากศิลปินญี่ปุ่นในการแสดง สาธิต อธิบายขั้นตอนเทคนิคในการทำงานอย่างไม่ปิดบังและยินดีที่จะถ่ายทอดความรู้ เทคนิคในการทำงานต่าง ๆ แก่บุคลากรของสำนักช่างสิบหมู่  โดยเฉพาะอาจารย์มิยากิที่เชี่ยวชาญงานที่เกี่ยวข้องกับเครื่องรักทุกชนิดและปฏิบัติงานเองในทุกขั้นตอน  ตั้งแต่การต้มหอยมุกซึ่งทำให้ได้มุกที่มีความบางมากสามารถนำมาใช้งานได้ง่าย ซึ่งเป็นเทคนิคที่ช่างไทยไม่มีความรู้และไม่เคยปฏิบัติมาก่อน สำนักช่างสิบหมู่จึงเห็นสมควรจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรภายในสำนักช่างสิบหมู่ เพื่อแลกเปลี่ยนด้านศิลปกรรมด้านเครื่องรัก ระหว่างประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่น ปีงบประมาณ ๒๕๕๖  โดยเชิญวิทยากรจากประเทศญี่ปุ่นมาถ่ายทอดความรู้เทคนิค วิธีการ แนวคิด รูปแบบงานศิลปกรรมด้านเครื่องรักแก่บุคลากรของสำนักช่างสิบหมู่ โดยเรียนรู้จากการฝึกอบรมและร่วมปฏิบัติงานกับวิทยากรในการสร้างสรรค์ผลงาน และจัดนิทรรศการแสดงผลงานที่สำเร็จจากการอบรมเพื่อเผยแพร่ความรู้แก่สาธารณะชนต่อไป            เอกสาร “รายงานสรุปการฝึกอบรม : ขั้นตอนการสร้างงานเครื่องรักแบบญี่ปุ่น” ฉบับนี้  เป็นรายงานสรุปผลการฝึกอบรมอันสืบเนื่องมาจากการดำเนินการในโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสำนักช่างสิบหมู่ : ด้านเครื่องรักระหว่างประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่น  ระหว่างวันที่ ๓ – ๒๑ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๖ ณ ศูนย์ศิลปะและการช่างไทย  สำนักช่างสิบหมู่  กรมศิลปากร  โดยวิทยากรศิลปินชาวญี่ปุ่น  Mr.KIYOSHI  MIYAGI  ซึ่งรวบรวมข้อมูลและเรียบเรียงเอกสารรายงานโดย  นางสาวชุตินันท์  กฤชนาวิน  นักวิชาการช่างศิลป์ปฏิบัติการ  สังกัด ศูนย์ศิลปะและการช่างไทย  สำนักช่างสิบหมู่  กรมศิลปากร  และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจต่อไปในอนาคต  
ปีงบประมาณที่สร้างงาน 2556
นิทรรศการพิเศษ “สืบ สร้าง สาน ศาสตร์ศิลป์”
นิทรรศการพิเศษ "สืบ สร้าง สาน ศาตร์ศิลป์"  เนื่องในโอกาส ๑๑๒ ปี แห่งการสถาปนากรมศิลปากรระหว่างวันที่ ๒๗  มีนาคม  ถึงวันที่  ๒๗ เมษายน ๒๕๖๖ณ พระที่นั่งอิศราวินิจฉัย  พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร"กรมศิลปากร สำนักช่างสิบหมู่"  มีภารกิจสำคัญในการอนุรักษ์ สืบสาน สร้างสรรค์ มรดกศิลปวัฒนธรรมของชาติ โดยศึกษาศาสตร์งานศิลป์ ผ่านศิลปกรรมชั้นครูที่ยังคงเหลือให้เห็นตามโบราณสถานและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ  ด้วยการฟื้นฟูศาสตร์ความรู้วิชาช่างศิลปกรรม  สืบสานด้วยการสร้างสรรค์งานช่างศิลปกรรมแขนงต่าง ๆ ส่งต่อด้วยการเผยแพร่องค์ความรู้ศาสตร์วิชางานช่าง ให้เห็นถึงกระบวนการสร้างสรรค์งานนำไปสู่การพัฒนาทักษะเชิงช่างของไทยให้คงอยู่สืบไป เช่นนี้เป็นการ สืบ สร้าง สาน ศาสตร์ศิลป์ ผ่านศิลปินศิลปากร- - - - สื่อวีดิทัศน์ประกอบนิทรรศการ - - - -  - - - - รายการไขความรู้จากครูกรมศิลป์ - - - -    ตอน “สืบ สร้าง สาน ศาสตร์ศิลป์”  ในวันพฤหัสบดีที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๖ 
ปีงบประมาณที่สร้างงาน 2566
โครงการศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม “การซ่อมบูรณะงานศิลปกรรมแบบสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร (งานปิดทอง งานประดับกระจก)กรณีศึกษา การบูรณะซ่อมแซมพระราชอาสน์
เนื่องด้วยพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม มีความประสงค์จะบูรณะซ่อมแซมโบราณวัตถุ จำนวน ๓ รายการ ได้แก่ นพปฎลมหาเศวตฉัตร พระแท่นราชอาสน์ และพระแท่นบรรทม จึงได้ขอความอนุเคราะห์มายังสำนักช่างสิบหมู่ให้ดำเนินการบูรณะซ่อมแซมโบราณวัตถุตามรายการดังกล่าว สำนักช่างสิบหมู่ โดยกลุ่มประณีตศิลป์ กลุ่มงานช่างปิดทองประดับกระจกและช่างสนะไทย และกลุ่มงานแกะสลักและช่างไม้ประณีต ได้ดำเนินการบูรณะซ่อมแซมพระนพปฎลมหาเศวตฉัตร ณ ห้องจัดแสดงอาคารพลับพลาจตุรมุข พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม และได้เคลื่อนย้ายพระแท่นพระราชอาสน์ และพระบรรทมมาบูรณะซ่อมแซม ณ อาคารช่างปิดทองประดับกระจก และช่างสนะไทย กลุ่มประณีตศิลป์ สำนักช่างสิบหมู่ จังหวัดนครปฐม เพื่อสะดวกในการปฏิบัติงาน โดยรายงานฉบับนี้จะขอนำเสนอรายละเอียด ส่วนพระแท่นราชอาสน์และขั้นตอนการปฏิบัติงานบูรณะซ่อมแซมจำเพาะ พระราชอาสน์ ในลักษณะการอนุรักษ์แบบอย่างสำนักช่างสิบหมู่ ตามหลักฐานที่ปรากฏตามข้อเท็จจริง และสมมุติฐานโดยคำนึงถึงรูปแบบเดิมของพระราชอาสน์ ซึ่งเป็นงานประณีตศิลป์ศิลป์ไทยที่สืบต่อกันมานับจากอดีตจนมาถึงปัจจุบัน ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานการบูรณะซ่อมแซม พระราชอาสน์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ฉบับนี้จะเป็นแนวทางการบูรณะซ่อมแซมโบราณวัตถุ และศิลปวัตถุในลักษณะการซ่อมบูรณะการซ่อมแซมงานอนุรักษ์แบบอย่างสำนักช่างสิบหมู่ และเป็นประโยชน์ทางการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความสนใจได้ไม่มากก็น้อย 
ปีงบประมาณที่สร้างงาน 2565
โครงการศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม “การซ่อมบูรณะงานศิลปกรรมแบบสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร (งานปิดทอง งานประดับกระจก)กรณีศึกษา งานซ่อมตะลุ่มประดับกระจกบางของวัดชนะสงคราม
การจัดทำเอกสารองค์ความรู้เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งในโครงการศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำองค์ความรู้ทางด้านศิลปกรรมประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ ด้านการซ่อมบูรณะงานศิลปกรรมแบบสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ด้านงานปิดทองงานประดับกระจก ในงานซ่อมตะลุ่มประดับกระจกบางของวัดชนะสงคราม โดยจะมีการบรรยายถึงกรรมวิธีการทำกระจกบางเพื่อใช้เป็นวัสดุทดแทนกระจกเดิมที่ชำรุดเสียหาย การตัดกระจก และการประดับกระจก สืบเนืองมาจากทางวัดชนะสงครามได้ขอความอนุเคราะห์จากสำนักช่างสิบหมู่ช่วยเหลือบูรณซ่อมแซมตะลุ่มประดับกระจกที่ชำรุดเสียหายจำนวน ๒ ใบ ด้วยเห็นว่าทางกลุ่มงานช่างปิดทองประดับกระจกและช่างสนะไทย กลุ่มประณีตศิลป์ กรมศิลปากร มีความชำนาญทางด้านงานประณีตศิลป์ จึงได้ขอความอนุเคราะห์ให้ซ่อมแซมตะลุ่มเพื่อให้กลับคงสภาพสมบูรณ์รักษาไว้ให้อนุชนรุ่นหลังสืบต่อไป ทางกลุ่มงานช่างปิดทองประดับกระจกและสนะไทยยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้รับความไว้วางใจให้ซ่อมบูรณะตะลุ่มประดับกระจก ทั้ง ๒ ใบนี้ บัดนี้ได้ทำการซ่อมแซมตะลุ่มประดับกระจกบางเสร็จสมบูรณ์ และได้ทำการส่งมอบกลับคืนให้ทางวัดชนะสงครามเป็นที่เรียนร้อยแล้ว ด้วยทางกลุ่มงานช่างปิดทองเล็งเห็นว่าในการซ่อมแซมตะลุ่มประดับกระจกบางในครั้งนี้มีเทคนิคพิเศษหลายอย่างที่น่าสนใจควรแก่การจดบันทึก จึงได้จัดทำเอกสารองค์ความรู้นี้ขึ้น เพื่อเป็นองค์ความรู้ให้ชนรุ่นหลังต่อไป
ปีงบประมาณที่สร้างงาน 2565
โครงการศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม “การซ่อมบูรณะงานศิลปกรรมแบบสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร (งานปิดทอง งานประดับกระจก)กรณีศึกษา การบูรณะซ่อมแซมพระที่นั่งราเชนทรยาน
พระที่นั่งราเชนทรยาน เป็นพระราชยานสำหรับพระมหากษัตริย์ทรงในเวลาเสด็จพระราชดำเนินโดยขบวนแห่อย่างใหญ่ที่เรียกว่า ขบวนพยุหายาตราสี่สาย หรือขบวนสี่สาย เช่น เสด็จพระราชดำเนินจากพระราชมณเฑียรไปถวายสักการะพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ วัดพระศรีรัตนศาสดารามในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เป็นต้น นอกจากใช้ในการเสด็จพระราชดำเนินแล้ว ยังใช้ในการเชิญพระบรมโกศพระบรมอัฐิพระมหากษัตริย์ และสมเด็จพระบรมราชินีจากพระเมรุมาศท้องสนามหลวงเข้าสู่พระบรมมหาราชวังด้วย  มีการใช้ในงานพระราชพิธีหลายครั้ง ในการบูรปฏิสังขรณ์ที่ผ่านมาหลายครั้ง มีการทารักปิดทอง ทาสีปิดทอง และประดับกระจกในร่องลวดลาย จนกระจกที่ประดับไว้ล้นขึ้นมาจากร่องลวดลาย ส่วนลวดลายที่ปิดทองทับซ้อนกันหลายชั้นก็ดูเลือน ไม่ชัดเจน ปิดบังลวดลายไม้แกะสลักที่สวยงามของครูช่างโบราณอีกทั้งไม้โครงสร้างบางส่วนก็ผุกร่อนตามกาลเวลา ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๙ กรมศิลปากร มอบหมายให้สำนักช่างสิบหมู่ ดำเนินการบูรณปฏิสังขรณ์ราชรถ ราชยาน และเครื่องประกอบในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อใช้ในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพในปีพุทธศักราช ๒๕๖๐ เพื่อถือเป็นการถวายพระเกียรติยศสูงสุด  ภายหลังจากการสำรวจเพื่อทำการบูรณปฏิสังขรณ์เพื่อเตรียมใช้ในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ สำนักช่างสิบหมู่ พิจารณาเห็นสมควรให้บูรณปฏิสังขรณ์พระที่นั่งราเชนทรยาน ในด้านโครงสร้างให้แข็งแรงมั่นคงยิ่งขึ้น ทำการปิดทองใหม่ทั้งหมด และจัดสร้างชุดเฟื่องระย้าชุดใหม่เพื่อประดับตกแต่งให้งดงามสมพระเกียรติ ในการนี้ ศูนย์ศิลปะและการช่างไทย สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร จึงดำเนินการบันทึกข้อมูลรายละเอียดในการบูรณะซ่อมแซม พระที่นั่งราเชนทรยาน เป็นกรณีศึกษา ในด้านการปิดทองและประดับกระจก เพื่อรวบรวมไว้เป็นเอกสารองค์ความรู้ด้านศิลปกรรมในปีงบประมาณ ๒๕๖๕ สำหรับผู้ที่สนใจ นักเรียน นักศึกษา ได้นำประโยชน์ไปพัฒนาต่อยอดงานศิลปกรรม และเพื่อสืบทอดกรรมวิธีของครูช่างโบราณให้คงอยู่กับงานศิลปกรรมไทยสืบไป
ปีงบประมาณที่สร้างงาน 2565
รายงานความก้าวหน้า โครงการอนุรักษ์ซ่อมแซมบานไม้ประดับมุกศิลปะญี่ปุ่นในประเทศไทย พระวิหารหลวง วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔
          บานไม้ประดับมุกศิลปะญี่ปุ่นบนบานประตู  หน้าต่างภายในพระวิหารหลวง วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม เป็นงานศิลปะชิ้นสำคัญที่สั่งทำจากประเทศญี่ปุ่น เมื่อคราวผูกมหาสีมาเมื่อพุทธศักราช ๒๔๐๘ ได้มีการสั่งทำบานประตูหน้าต่างมาประดับ เมื่อผ่านกาลเวลาเกิดความชำรุดเสื่อมสภาพตามกาลเวลา เชื้อรา แมลงกัดกินพื้นไม้ ฝุ่นคราบจากมลภาวะฝุ่นคัวน และจากยางรักที่ทาเคลือบไว้ที่เคยมีการพยายามซ่อมแซมมาทำให้เกิดความหมองคล้ำไม่สดใส ทางวัดราชประดิษฐ์มีความประสงค์ให้กรมศิลปากรดำเนินการอนุรักษ์ซ่อมแซม เพื่อให้เกิดสมบูรณ์สวยงาม และเสริมความมั่นคงแข็งแรง เป็นการส่งต่อมรดกทางศิลปวัฒนธรรมให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้ต่อไปในอนาคต            ที่ผ่านมาได้ดำเนินการโครงการอนุรักษ์โบรณสถานภายในวัด จากสำนักสถาปัตยกรรมควบคุมการอนุรักษ์โบราณสถาน โดยกรมศิลปากรมีข้อตกลงความร่วมมือระหว่างกรมศิลปากรกับสถาบันวิจัยมรดกทางวัฒนธรรมแห่งชาติกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น(Tokyo National Research Institute for Cultural Properties: TNRICP)ในการดูแลรักษามรดกทางวัฒนธรรมระหว่างประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น  ร่วมดำเนินการสำรวจบานไม้ประดับมุกศิลปะญี่ปุ่นบนบานประตู  หน้าต่าง  พบบานประตู  ๓ คู่ บานหน้าต่าง ๑๖ คู่ ประกอบด้วยแผ่นไม้ประดับมุกศิลปะญี่ปุ่นทั้งสิ้น ๗๖ แผ่น  ชำรุด  จำนวน ๖๔  แผ่น หลุดหาย ๑๒ แผ่น และแผ่นไม้ประดับรักลายนูน ทั้งสิ้น ๓๘ แผ่น ชำรุด  ๓๐ แผ่น หลุดหาย ๘  แผ่น            การดำเนินงานในระยะที่ ๑ ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ ๒๕๕๖ - ๒๕๕๘ได้นำตัวอย่างบานไม้ประดับมุกที่ชำรุด ส่งออกอนอกราชอาณาจักรเพื่อไปศึกษารายละเอียดส่วนประกอบศิลปวัตถุ  ณ สถาบันวิจัยมรดกทางวัฒนธรรมแห่งชาติกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่นTokyo National Research Institute for Cultural Properties                     การดำเนินงานในระยะที่ ๒ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘ วัดราชประดิษฐได้ส่งตัวแทนจากหน่วยงานภายใต้สังกัดกรมศิลปากร ๒ หน่วยงาน ประกอบด้วยกลุ่มวิทยาศาสตร์เพื่อการอนุรักษ์ สำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ  และสำนักช่างสิบหมู่  รวมถึงตัวแทนจากโรงเรียนช่างฝีมือในวัง หน่วยละ ๒ รายรวมทั้งสิ้น  ๖  รายเดินทางไปร่วมดำเนินการอนุรักษ์บานไม้ประดับมุกศิลปะญี่ปุ่น  ณ สถาบันวิจัยมรดกทางวัฒนธรรมแห่งชาติกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่นTokyo National Research Institute for Cultural Properties           ปัจจุบันอยู่ในระยะที่ ๓ ดำเนินการซ่อมอนุรักษ์บานไม้ประดับมุกศิลปะญี่ปุ่น พระวิหารหลวง. วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม จะเริ่มดำเนินการตั้งแต่ปีงบประมาณ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๘ ในปีงบประมาณ  ๒๕๖๔ อยู่ในช่วงที่มีสถานการณ์โควิด - ๑๙ ทำให้ต้องมีการปรีบเปลี่ยนวิธีการดำเนินงาน และปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัด  การดำเนินงานหากพบประเด็นปัญหาในการทำงาน จะมีการประชุมทางไกลกับผู้เชี่ยวชาญ จากสถาบันวิจัยมรดกทางวัฒนธรรมแห่งชาติกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่นTokyo National Research Institute for Cultural Properties ประเทศญี่ปุ่น เพื่อปรึกษาหาข้อสรุปเพื่อดำเนินงานเป็นระยะ ๆ  ทั้งนี้ในปี ๒๕๖๔ ได้ดำเนินงานดังนี้                 วัดราชประดิษฐฯ สำนักสถาปัตยกรรม และสำนักพิพิธภัณฑ์ดำเนินการจัดเตรียมสถานที่ เพื่อใช้ดำเนินงานการอนุรักษ์ ตามรูปแบบและมาตรฐาน สำนัดหอจดหมายเหตุดำเนินการบันทึกสภาพก่อนดำเนินการถอดบานไม้ ทั้งหมด ในวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๔ ได้ทำพิธีบวงสรวงและดำเนินการถอดชิ้นงานเป็นปฐมฤกษ์โดยนายประทีป เพ็งตะโก (อธิบดีกรมศิลปากร) จากนั้นดำเนินการถอดบานไม้ประดับมุกศิลปะญี่ปุ่นจำนวน  ๑๙  แผ่น และแผ่นไม้ประดับรักลายนูน  จำนวน  ๘  แผ่น รวมทั้งสิ้น ๒๗ แผ่น การดำเนินงานโดยบุคลากรของที่ร่วมดำเนินการอนุรักษ์บานไม้ประดับมุกศิลปะญี่ปุ่น  ณ สถาบันวิจัยมรดกทางวัฒนธรรมแห่งชาติกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่นTokyo National Research Institute for Cultural Properties เมื่อปี  ๒๕๕๘ นำความรู้จากการดำเนินการดังกล่าวมาถ่ายทอดความรู้ให้คณะทำงาน และร่วมดำเนินการดังนี้ กลุ่มวิทยาศาสตร์เพื่อการอนุรักษ์ สำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ดำเนินการในส่วน  ตรวจสอบสภาพ ทำแผนผังแสดงลักษณะการเสื่อมสภาพ (mapping) อบฆ่าเชื้อรา  ฆ่าแมลงในแผ่นไม้  เช็ดทำความสะอาดผิวชิ้นงาน สำนักช่างสิบหมู่ดำเนินการทดสอบวัสดุ เช่นกาวหนัง ยางรักสำหรับติด ผนึกเสริมความแข็งแรงด้วยเทคนิค shimbari  และเติมส่วนที่หลุดล่อนให้ครบสมบูรณ์   จากการปฏิบัติงานในระยะแรกคณะทำงานได้ทดสอบ ทดลองหาแนวทางในการดำเนินงานการอนุรักษ์  ซ่อมแซมจนมีแนวทางในการดำเนินงาน และเกิดความเข้าใจในการทำงานมากขึ้นจะทำให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ นำไปสู่การทำงานที่สมบูรณ์และเร็วขึ้น           ในการดำเนินงานคณะทำงานได้ทำการบันทึกข้อมูลกระบวนการทำงาน ปัญหาอุปสรรค เพื่อรวบรวมข้อมูลจัดทำเป็นองค์ความรู้ในการอนุรักษ์  ซ่อมแซมงานศิลปกรรมประเภทบานไม้ประดับมุกศิลปะญี่ปุ่น เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติงานต่อไปในอนาคต และจัดทำเป็นหนังสือองค์ความรู้เพื่อเผยแพร่ในลำดับต่อไป           ในปี ๒๕๖๔ ได้ซ่อมอนุรักษ์ชิ้นงานแล้วเสร็จบางส่วน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามแผนงาน จึงควรนำชิ้นงานที่ซ่อมแล้วเสร็จติดผนึกกลับเพื่อถอดชิ้นงานชุดใหม่มาดำเนินงานการซ่อมต่อไป  การดำเนินงานโครงการอนุรักษ์ซ่อมแซมบานไม้ประดับมุกศิลปะญี่ปุ่นในประเทศไทย พระวิหารหลวง วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพมหานคร ถือเป็นโครงการนำร่องที่จะเป็นแนวทางในการดำเนินงานการอนุรักษ์ซ่อมแซมบานไม้ประดับมุกศิลปะญี่ปุ่นในประเทศไทยต่อไป การทำงานประสานความร่วมมือ แลกเปลี่ยนความรู้จากผู้เชี่ยวชาญจากประเทศญี่ปุ่นถือเป็นสิ่งที่สำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งต่อการปฏิบัติงานในการอนุรักษ์ซ่อมแซม ทำให้เกิดการเรียนรู้  ฝึกฝน อีกทั้งเป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์ ทักษะฝีมือในการปฏิบัติงานอันจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมประเทศชาติ เกิดความร่วมมือทางด้านศิลปวัฒนธรรมของทั้งสองประเทศนำไปสู่ความสัมพันธ์อันดีประเทศ ไทย-ญี่ปุ่นต่อไปในอนาคต    
ปีงบประมาณที่สร้างงาน 2564
โครงการศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม “การซ่อมบูรณะงานศิลปกรรมแบบสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร (งานปิดทอง งานประดับกระจก)กรณีศึกษาพระแท่นบรรทม
เอกสารฉบับบนี้นำเสนอรายละเอียดการบูรณะซ่อมแซมพระแท่นบรรทม พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ในลักษณะการบูรณะซ่อมแซม. เพื่อการศึกษา เพื่อการอนุรักษ์และจัดแสดงแบบสำนักช่างสิบหมู่ ด้วยหลักฐานที่ปรากฎตามข้อเท็จจริงและสมมุติฐานโดยคำนึงถึงรูปแบบเดิมของพระแท่นบรรทมที่มีลักษณะงานช่างโบราณลงรักปิดทองประดับกระจก ทาชาดรวมถึงงานช่างสนะไทยเป็นงานที่เกี่ยวกับงานผ้าอาภรณ์ภัณฑ์ในการจัดทำผ้าดาดหลังคาและผ้าขลิบลายทองของพระแท่นบรรทมอันเป็นรูปแบบงานประณีตศิลป์ไทยที่ถ่ายทอดฝีมือและศิลปะเชิงช่างแบบโบราณจากอดีตจนถึงปัจจุบันให้กลับคืนสภาพอดีตดั่งแรกสร้าง            เพื่อเป็นการสืบทอดองค์ความรู้งานครูช่าง พัฒนาศักยภาพบุคลากรของสำนักช่างสิบหมู่ให้เกิดความเชี่ยวชาญทางด้านการบูรณะซ่อมแซมโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุอย่างถูกต้องเหมาะสม  และสอดคล้องกับภารกิจหลักขององค์กร โดยสำนักช่างสิบหมู่เป็นหน่วยงานในสังกัดกรมศิลปากรมีหน้าที่ในการทำนุบำรุงรักษาสืบทอด และเผยแพร่ความรู้อันเนื่องด้วยมรดกศิลปวัฒนธรรมของชาติ และสะดวกในการสืบค้นข้อมูลต่อไปในอนาคต สำนักช่างสิบหมู่หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารองค์ความรู้การบูรณะซ่อมแซมพระแท่นบรรทม รัชกาลที่ ๔ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม  ฉบับนี้จะเป็นแนวทางการบูรณะซ่อมแซมโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุในลักษณะการซ่อมงานอนุรักษ์แบบสำนักช่างสิบหมู่และเป็นประโยชน์ทางการศึกษาสำหรับผู้ที่สนใจได้ไม่มากก็น้อย หากเอกสารองค์ความรู้การบูรณะซ่อมแซมพระแท่นบรรทมฉบับนี้มีข้อผิดพลาดประการใดสำนักช่างสิบหมู่  ยินดีรับฟังข้อเสนอแนะและจะนำมาปรับปรุงเอกสารให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นต่อไป
ปีงบประมาณที่สร้างงาน 2565
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางด้านศิลปกรรม ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ (ครั้งที่ ๑)
สำนักช่างสิบหมู่ นำเสนอ E – book  รายงานสรุปการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ ๑  หัวข้อ “ทฤษฎีสีเบื้องต้นในธรรมชาติ” และ “การเขียนภาพธรรมชาติด้วยสีอะคริลิค”โดยวิทยากรรับเชิญ  อาจารย์สมวงศ์  ทัพพรัตน์ในโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางด้านศิลปกรรม  ประจำปีงบประมาณ  ๒๕๖๔“เสริมสร้างทักษะความรู้ แนวคิดในการสืบทอดงานศิลปกรรมสำนักช่างสิบหมู่ ด้านจิตรกรรม"              ซึ่งสำนักช่างสิบหมู่ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการเรียนรู้ส่งเสริมให้บุคลากรมีทักษะและสมรรถนะที่เหมาะสมต่อการปฏิบัติงาน  เนื่องด้วยการปฏิบัติเป็นงานสายวิชาชีพเฉพาะ  จึงมีการการจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะทางด้านศิลปกรรมให้กับบุคลากรสำนักช่างสิบหมู่ขึ้น  อันจะนำไปสู่การพัฒนาต่อยอด และสามารถปฏิบัติงานให้บริการแก่ประชาชน หน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะทางด้านศิลปกรรมนี้  เป็นการเปิดโอกาสให้บุคลากรผู้มีความสนใจในการเพิ่มพูนทักษะด้านศิลปกรรมในหลาย ๆ ด้าน ทั้งในเชิงวิชาการ  ทักษะการปฏิบัติงาน และการเดินทางศึกษาเรียนรู้จากผลงานศิลปกรรมชั้นครูตามสถานที่สำคัญต่าง ๆ โดยมีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมเป็นจำนวนมากและเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำในทุกปี              ในโอกาสนี้ทางสำนักช่างสิบหมู่ต้องกราบขอบพระคุณวิทยากรรับเชิญ  อาจารย์สมวงศ์  ทัพพรัตน์  ที่สละเวลาอันมีค่าเดินทางมาให้ความรู้กับบุคลากรของสำนักช่างสิบหมู่  แนะนำเทคนิคทางด้านการใช้สี  เสริมความรู้ด้านทัศนียวิทยา และแนะนำเทคนิคการใช้สีกับการถ่ายทอดภาพทิวทัศน์จากสถานที่จริง  ซึ่งเป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์ให้บุคลากรได้มีโอกาเรียนรู้  แลกเปลี่ยน  และนำเทคนิคแนวทางการดำเนินงานมาปรับประยุกต์ใช้ในการทำงานสำหรับหน่วยงานต่อไป
ปีงบประมาณที่สร้างงาน 2564
โครงการศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม เรื่อง การจัดสร้างหุ่นหลวง
หุ่นหลวง เป็นงานศิลปะที่รวบรวมฝีมือและงานประณีตศิลป์หลายประเภทเข้าไว้ด้วยกันแสดงให้เห็นว่าคนไทยเป็นคนช่างคิดช่างประดิษฐ์ และแสดงออกซึ่งความสามารถในด้านศิลปะของคนในชาติ ความงดงามเหล่านั้นปรากฏให้เห็นอยู่บนรูปร่าง หน้าตาเครื่องแต่งกายและการประดับตกแต่งด้วยเครื่องประดับบนตัวหุ่น อันเป็นเอกลักษณ์ในด้านงานศิลปกรรมของไทย  เนื่องจากปัจจุบันหาผู้ที่สืบทอดหรือจัดสร้างหุ่นหลวงได้ยากมากขึ้น  สำนักช่างสิบหมู่ ได้ตระหนักเห็นความสำคัญในการศึกษารูปแบบตลอดจนวิธีการจัดสร้างหุ่นหลวง เพื่อเก็บรวมรวมไว้เป็นเอกสารองค์ความรู้ จึงมีการจัดโครงการศึกษา  รวบรวม ข้อมูลเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม เรื่อง การสร้างหุ่นหลวง ขึ้นในปีงบประมาณ ๒๕๕๙  โดยได้แต่งตั้งคณะทำงานในส่วนกลุ่มงานที่เกี่ยวข้องของสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เพื่อร่วมกันกำหนดรูปแบบการจัดสร้างชิ้นงานประกอบการจัดทำองค์ความรู้ในครั้งนี้  เป็นการสร้างหุ่นหลวง(ตัวพระ) เพื่อศึกษาโครงสร้างภายในตัวหุ่น กลไกการเชิดหุ่นให้มีท่าทางต่าง ๆ ตลอดจนเครื่องแต่งกายและเครื่องประดับต่าง ๆ โดยจัดทำเป็นเอกสารประกอบการโครงการศึกษารวบรวมเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม เรื่อง การสร้างหุ่นหลวงในครั้งนี้ขึ้นเพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษาต่อไป
ปีงบประมาณที่สร้างงาน 2559
  BACK TO TOP
jualtoto jualtoto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto ohtogel oh togel indosattoto indosat toto ohtogel oh togel ohtogel oh togel ohtogel oh togel jualtoto jual toto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto cahayatoto cahaya toto indosattoto indosat toto indosattoto indosat toto jualtoto ohtogel sisi368 jualtoto jualtoto sisi368 sisi368 sisi368 situs toto situs toto situs toto ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel sisi368 sisi368 sisi368 sisi368 sisi368 ohtogel