ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

จัดการความเป็นส่วนตัว

คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)

เปิดใช้งานตลอด
คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการ ใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการใน สาระสำคัญของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้

คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร จดจำตัวเลือกต่าง ๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วย ให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ เช่น ช่วยจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้งานของท่าน หรือจดจำการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าขนาดฟอนต์หรือการตั้งค่าต่าง ๆ ของหน้าเพจซึ่งท่านสามารถปรับแต่งได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน

image header.
ระบบศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร
image header.


ผลงาน


ภาพยนตร์สารคดี : เบื้องหลังการซ่อมบูรณะเรือพระราชพิธีของสำนักช่างสิบหมู่
สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ขอนำเสนอ Teaser ภาพยนตร์สารคดี : การซ่อมบูรณะเรือพระราชพิธีของสำนักช่างสิบหมู่เผยแพร่เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2568 สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ขอนำเสนอ Teaser 2 ภาพยนตร์สารคดี : เบื้องหลังการซ่อมบูรณะเรือพระราชพิธี เผยแพร่เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2568 ภาพยนตร์สารคดี : เบื้องหลังการซ่อมบูรณะเรือพระราชพิธี  บทที่ ๑ หน้าที่ ดำเนินเรื่อง (งานช่างเขียน) โดย นายสุเพล สาตร์เสริม นายช่างศิลปกรรมอาวุโส กลุ่มงานช่างเขียนและช่างลายรดน้ำ กลุ่มประณีตศิลป์ สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ภาพยนตร์สารคดี : เบื้องหลังการซ่อมบูรณะเรือพระราชพิธี บทที่ ๒ พรหมลิขิต ดำเนินเรื่อง (งานช่างปิดทอง) โดย นางสาวปิยนุช กุศล นายช่างศิลปกรรมอาวุโส กลุ่มงานช่างปิดทอง ประดับกระจกและช่างสนะไทย กลุ่มประณีตศิลป์ สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ภาพยนตร์สารคดี : เบื้องหลังการซ่อมบูรณะเรือพระราชพิธี บทที่ ๓ ศรัทธา ดำเนินเรื่อง (งานช่างแกะสลัก) โดย นายพิพัฒน์พงศ์ ราชภักดี นายช่างศิลปกรรม กลุ่มงานช่างแกะสลักและช่างไม้ประณีต กลุ่มประณีตศิลป์ สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากรhttps://www.facebook.com/share/v/1B9tZXyKLs/ ภาพยนตร์สารคดี : เบื้องหลังการซ่อมบูรณะเรือพระราชพิธี บทที่ ๔ สมดุล ดำเนินเรื่อง (งานช่างสนะไทย) โดย นางสาวกัญฑิมา สัมมาวุฒธิ  นักวิชาการช่างศิลป์  กลุ่มงานช่างปิดทอง ประดับกระจกและช่างสนะไทย กลุ่มประณีตศิลป์ สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร
ตลาดนัดศิลปะ : นั่งเล่นบ้านช่าง (สิบหมู่)
  งานตลาดนัดศิลปะ "นั่งเล่นบ้านช่าง (สิบหมู่)" ระหว่างวันเสาร์ที่ 29 และ วันอาทิตย์ที่ 30 มีนาคม 2568 เวลา 10:00 - 20:00 น. ณ สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร พุทธมณฑล สาย 5 ศาลายา นครปฐม  ภายในงานพบกับกิจกรรม Workshop ของสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร มากกว่า 12 รายการ มาเปิดบูธให้ผู้ที่สนใจเข้าร่วมได้โดยไม่ต้องลงทะเบียนสำรองที่นั่ง  และยังมีผลิตภัณฑ์ด้านศิลปะจากร้านค้าในเครือข่ายของสำนักช่างสิบหมู่ รวมถึงงานคราฟท์ งานแฮนด์เมด ของตกแต่ง ของที่ระลึก ร้านอาหาร และการแสดงด้านวัฒนธรรมอีกมากมาย  การเดินทาง มาสำนักช่างสิบหมู่ ศาลายา นครปฐม - รถส่วนตัว : มีที่จอดรถรองรับภายในสำนักช่างสิบหมู่ - รถประจำทาง : สาย 515 / สาย 124 (ลงแมคโคร) - รถไฟ : ลงสถานีศาลายา  - พิกัด : สำนักช่างสิบหมู่ https://maps.app.goo.gl/CYVqtRKApiXJABAJA ------------------------------------------------------------  ช่างชวนทำ - กิจกรรม workshop..... งานลงยาสีแหวนประดับพลอย งานประดับมุกประดับขวดโหล งานปั้นปูนสดลายดอกพุดตาน งานเขียนลายรดน้ำ งานเขียนสีหัวเขน ยักษ์ - ลิง งานประคบทองเขียนสีบนกระเป๋าผ้า งานเพ้นท์ลายไทยบนพัด งานปัดทองประติมากรรมสองมิติ งานประดับกระจกสี งานปั้นเซรามิค เทคนิคขึ้นรูปดินด้วยมือ งานตอกหนังพวงกุญแจ 12 นักษัตร งานตัดพวงมโหตร งานต่างหูปีกแมลงทับ งานลงยาสีเย็นแบบ see through บนเครื่องประดับ การเข้าร่วมกิจกรรม Workshop ของสำนักช่างสิบหมู่ ในงานตลาดนัดศิลปะ " นั่งเล่นบ้านช่าง (สิบหมู่) " สามารถ Walk in มาได้เลย ไม่ต้องลงทะเบียนล่วงหน้า  และในแต่ละกิจกรรมจะมีค่าวัสดุและอุปกรณ์ไม่เท่ากัน เริ่มต้นที่ 50 - 300 บาท เมื่อทำกิจกรรมเสร็จสามารถนำชิ้นงานของตนเองกลับได้                                         ---------------------------------------------------------------ช่างชวนดู : " จิตรกรน้อย ตะลุงศิลป์ " สร้างสรรค์การแสดงโดย กลุ่มจิตรกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร รอบแสดงวันที่ 29 - 30 มีนาคม 2568 เวลา 19:00 น. เป็นต้นไป >>>>> คลิป : เชิญชวนเที่ยวงาน--------------------------------------------------------------หลังบ้านช่าง : กับการเตรียมงานตลาดนัดศิลปะ "นั่งเล่นบ้านช่าง (สิบหมู่)" >>>>> รวมภาพหลังบ้านช่าง No.1 --------------------------------------------------------------แบบสอบถาม : งานนั่งเล่นบ้านช่าง (สิบหมู่)  
บูรณะซ่อมแซมองค์พระคลัง ณ กระทรวงการคลัง
                ตามที่ได้รับหนังสือจาก กระทรวงการคลัง กค ๐๒๐๑.๓/๑๙๖๙๑ เรื่องขอความอนุเคราะห์บูรณะซ่อมแซมองค์พระคลังในพระมหาสมบัติและองค์พระพรหม โดยมีเนื้อความว่า ด้วยในบริเวณที่ทำการกระทรวงการคลังประดิษฐานองค์พระคลังในพระคลังมหาสมบัติ (องค์พระคลัง) และองค์พระพรหม ซึ่งเป็นที่เคารพสักการะของผู้บริหาร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ และประชาชนทั่วไปที่มาติดต่อราชการ ซึ่งเนื่องจากในฤดูฝนที่ผ่านมาหลังคาซุ้มประดิษฐานองค์พระคลังฯ ภายในบริเวณกระทรวงการคลังได้เกิดการรั่วซึม ทำให้น้ำฝนขังอยู่บริเวณหลังคาซุ้มหยดลงใส่องค์พระคลังฯ เป็นเหตุให้ขณะนี้มีสภาพชำรุด จึงมีความประสงค์จะดำเนินการบูรณะซ่อมแซมองค์พระคลังฯและองค์พระพรหมให้มีความเรียบร้อยสมบูรณ์และสวยงาม ทางกรมศิลปากรจึงได้มอบหมายให้ทางสำนักช่างสิบหมู่ ในการซ่อมแซมองค์พระคลังฯ และองค์พระพรหม
จิตรกรรมฝาผนังภายในพระที่นั่งทรงธรรม (มุขกลาง)
“จิตรกรรมฝาผนังภายในพระที่นั่งทรงธรรม” จำนวน ๓ ผนัง น้อมนำโครงการพระราชดำริ จำนวน ๔๖ โครงการจากทั่วประเทศ โดยผนังที่ ๑ ติดตั้งบริเวณกลางของพระที่นั่งทรงธรรม ผนังที่ ๒ ติดตั้งบริเวณทางด้านทิศใต้ของพระที่นั่งทรงธรรม และผนังที่ ๓ ติดตั้งบริเวณทิศเหนือของพระที่นั่งทรงธรรม นายมณเฑียร ชูเสือหึง ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านจิตรกรรม เป็นผู้ออกแบบร่างและควบคุมการสร้าง เป็นความร่วมมือจัดสร้างเพื่อถวายงานพระบาทสมเด็จพระปริมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อย่างสุดกำลัง โดย ๓ สถาบัน คือ ๑) สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ๒) วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ และ ๓) สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ วิทยาลัยช่างศิลป โดยมีรายละเอียดดังนี้๑) สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ร่วมกับจิตรกรอาสาสมัคร เป็นพื้นที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา พื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน ๑๙ โครงการ ๒) วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ เป็นพื้นที่โครงการพระราชดำริภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน ๑๓ โครงการ๓) สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ วิทยาลัยช่างศิลป เป็นพื้นที่โครงการพระราชดำริพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ จำนวน ๑๔ โครงการ                                                                           
ราชสีห์ (ประดับราวบันได)
"ราชสีห์" เป็นสัตว์ที่มีพลังกำลังสูง มีอยู่ด้วยกัน ๔ ชนิด คือ     - บัณฑราชสีห์ มีผิวกายสีเหลืองและ เป็นสัตว์กินเนื้อ บัณฑุราชสีห์จัดได้ว่าเป็นสัตว์นักล่าขนาดใหญ่สัตว์ ที่ถูกล่า มีตั้งแต่สัตว์ประเภทกวาง ควาย ช้าง หรือแม้แต่มนุษย์     - กาฬสีหะ เป็นราชสีห์ที่กินพืชเป็นอาหารเท่านั้น มีกายดำสนิท และใหญ่ราวโคหนุ่ม มีเสียงคำราม อันทรงพลัง     - กรสรราชสีห์ เป็นสัตว์ทรงพลัง กายเป็นสิงห์ มีขนแผงคอ ริมฝีปาก ขนหาง และเล็บเป็น สีแดงดั่งผ้ารัตนกัมพล เป็นนักล่าชั้นเยี่ยมและกินสัตว์ใหญ่น้่อยเป็นอาหาร     - ติณสีหะ ติณสีหะมีกายสีแดง เป็นราชสีห์อีกชนิดที่กินแต่พืชเป็นอาหาร ลักษณะเด่นอีกอย่างของ ติณสีหะคือมีเท้าเป็นกีบแบบม้า
คชสีห์ (ประดับราวบันได)
"คชสีห์" เป็นสิงห์ผสม คือ สัตว์ประสมที่มีลักษณะของราชสีห์กับช้าง โดยมีกายเป็นสิงห์และมีหัวเป็นช้าง มีพละกำลังเทียบเท่าช้างกับสิงห์รวมกันและมีความน่าเกรงขาม อดีตในราชสำนักตั้งแต่สมัยอยุธยาได้นำตรารูปสัตว์หิมพานต์มาใช้เป็นสัญลักษณ์ตราประจำตำแหน่งของเสนาบดีและหมวดงานตกทอดมาถึงยุครัตนโกสินทร์ ในคติไทยนั้นถือว่าช้างเป็นสัตว์ประจำชาติใช้ในราชสงคราม ดังนั้นตราคชสีห์จึงสอดคล้องกับข้าราชการที่ออกสงคราม ซึ่งหมายถึงทหารนั่นเอง ในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น ตราคชสีห์ เป็นตราสัญลักษณ์ของสมุหกลาโหม บังคับหัวเมืองฝ่ายใต้ทั้งปวงเป็นสัญลักษณ์ของทหารหาญผู้รักษาราชบัลลังก์ และผู้ปกป้องผืนแผ่นดินประดับบันไดชั้นที่ ๒ ทิศละ ๑ คู่ จำนวน ๘ ตัว
สัตว์มงคลประจำทิศ : ราชสีห์
อาศัยอยู่ปากแม่น้ำสีหมุข อันเป็นถิ่นที่ราชสีห์อาศัยอยู่จำนวนมาก อยู่ประจำทิศตะวันออกของพระเมรุมาศสัตว์สำคัญประจำทิศที่สำนักช่างสิบหมู่จัดสร้างขึ้นเพื่อติดตั้งบริเวณบันไดทางขึ้นของฐานไพทีแต่ละชั้น ซึ่งจะเรียงตามลำดับเปรียบดังทางขึ้นเขาพระสุเมรุที่ล้อมรอบด้วยป่าหิมพานต์จนถึงชั้นระดับสูงที่เป็นที่อยู่ของครุฑ โดยเริ่มจากสัตว์มงคลสี่ประเภท ได้แก่ ราชสีห์ ช้าง ม้า และโคอุสุภราช ซึ่งอาศัยอยู่ที่ปากแม่น้ำสำคัญทั้งสี่สายที่ไหลหล่อเลี้ยงรอบนอกของป่าหิมพานต์ โดยจะติดตั้งที่ข้างบันไดทางขึ้นของฐานไพที ชั้นที่หนึ่งทุกทิศ นอกจากรูปเทวดาอัญเชิญบังแทรกและพุ่ม จำนวน ๕๖ องค์ ที่มีประจำทุกฐานไพที
สัตว์มงคลประจำทิศ : โค
อาศัยอยู่ปากแม่น้ำอุสภมุข อันเป็นถิ่นที่โคอาศัยอยู่จำนวนมาก อยู่ประจำทิศใต้ของพระเมรุมาศสัตว์สำคัญประจำทิศที่สำนักช่างสิบหมู่จัดสร้างขึ้นเพื่อติดตั้งบริเวณบันไดทางขึ้นของฐานไพทีแต่ละชั้น ซึ่งจะเรียงตามลำดับเปรียบดังทางขึ้นเขาพระสุเมรุที่ล้อมรอบด้วยป่าหิมพานต์จนถึงชั้นระดับสูงที่เป็นที่อยู่ของครุฑ โดยเริ่มจากสัตว์มงคลสี่ประเภท ได้แก่ ราชสีห์ ช้าง ม้า และโคอุสุภราช ซึ่งอาศัยอยู่ที่ปากแม่น้ำสำคัญทั้งสี่สายที่ไหลหล่อเลี้ยงรอบนอกของป่าหิมพานต์ โดยจะติดตั้งที่ข้างบันไดทางขึ้นของฐานไพที ชั้นที่หนึ่งทุกทิศ นอกจากรูปเทวดาอัญเชิญบังแทรกและพุ่ม จำนวน ๕๖ องค์ ที่มีประจำทุกฐานไพที
สัตว์มงคลประจำทิศ : ม้า
อาศัยอยู่ปากแม่น้ำอัสสมุข อันเป็นถิ่นที่ม้าอาศัยอยู่จำนวนมาก อยู่ประจำทิศตะวันตกของพระเมรุมาศสัตว์สำคัญประจำทิศที่สำนักช่างสิบหมู่จัดสร้างขึ้นเพื่อติดตั้งบริเวณบันไดทางขึ้นของฐานไพทีแต่ละชั้น ซึ่งจะเรียงตามลำดับเปรียบดังทางขึ้นเขาพระสุเมรุที่ล้อมรอบด้วยป่าหิมพานต์จนถึงชั้นระดับสูงที่เป็นที่อยู่ของครุฑ โดยเริ่มจากสัตว์มงคลสี่ประเภท ได้แก่ ราชสีห์ ช้าง ม้า และโคอุสุภราช ซึ่งอาศัยอยู่ที่ปากแม่น้ำสำคัญทั้งสี่สายที่ไหลหล่อเลี้ยงรอบนอกของป่าหิมพานต์ โดยจะติดตั้งที่ข้างบันไดทางขึ้นของฐานไพที ชั้นที่หนึ่งทุกทิศ นอกจากรูปเทวดาอัญเชิญบังแทรกและพุ่ม จำนวน ๕๖ องค์ ที่มีประจำทุกฐานไพที
สัตว์มงคลประจำทิศ : ช้าง
อาศัยอยู่ปากแม่น้ำหัตถีมุข อันเป็นถิ่นที่ช้างอาศัยอยู่จำนวนมาก อยู่ประจำทิศเหนือของพระเมรุมาศสัตว์สำคัญประจำทิศที่สำนักช่างสิบหมู่จัดสร้างขึ้นเพื่อติดตั้งบริเวณบันไดทางขึ้นของฐานไพทีแต่ละชั้น ซึ่งจะเรียงตามลำดับเปรียบดังทางขึ้นเขาพระสุเมรุที่ล้อมรอบด้วยป่าหิมพานต์จนถึงชั้นระดับสูงที่เป็นที่อยู่ของครุฑ โดยเริ่มจากสัตว์มงคลสี่ประเภท ได้แก่ ราชสีห์ ช้าง ม้า และโคอุสุภราช ซึ่งอาศัยอยู่ที่ปากแม่น้ำสำคัญทั้งสี่สายที่ไหลหล่อเลี้ยงรอบนอกของป่าหิมพานต์ โดยจะติดตั้งที่ข้างบันไดทางขึ้นของฐานไพที ชั้นที่หนึ่งทุกทิศ นอกจากรูปเทวดาอัญเชิญบังแทรกและพุ่ม จำนวน ๕๖ องค์ ที่มีประจำทุกฐานไพที
  BACK TO TOP
toto slot toto slot toto slot toto slot toto slot toto slot situs toto toto slot bengbengtoto toto slot rctitogel toto slot toto slot toto slot toto slot toto slot toto slot toto slot toto slot toto slot