ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

จัดการความเป็นส่วนตัว

คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)

เปิดใช้งานตลอด
คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการ ใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการใน สาระสำคัญของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้

คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร จดจำตัวเลือกต่าง ๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วย ให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ เช่น ช่วยจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้งานของท่าน หรือจดจำการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าขนาดฟอนต์หรือการตั้งค่าต่าง ๆ ของหน้าเพจซึ่งท่านสามารถปรับแต่งได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน

image header.
ระบบศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร
image header.

  • หน้าแรก
  • ผลงาน
  • พระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบัลลังก์

พระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบัลลังก์


photo-พระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบัลลังก์
-

พระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบัลลังก์

150 x 200 เซนติเมตร

จิตรกรรมสีน้ำมันบนผ้าลินิน

จิตรกรรม

จิตรกร : นายจักรพันธ์ หิรัญสาลี  จิตรกรชำนาญการ

15 ธันวาคม 2565 ถึง 30 มีนาคม 2567

-

-

งานจิตรกรรมพระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบัลลังก์ ปัจจุบันติดตั้งที่กรมเสมียนตรา สำนักปลัดกระทรวงกลาโหม

1. การรวบรวมข้อมูลและออกแบบ
     1.1 ศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์ และออกแบบเบื้องต้น ค้นคว้าพระบรมฉายาลักษณ์ เอกสารทางประวัติศาสตร์ และต้นแบบศิลปะ
     1.2 ศึกษาเครื่องทรง ฉลองพระองค์ และเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้ถูกต้องตามยุคสมัย ออกแบบองค์ประกอบและท่วงท่าให้เหมาะสมกับขนบศิลปะราชสำนัก

2. การเตรียมวัสดุและอุปกรณ์
     เตรียมวัสดุและอุปกรณ์โดยเลือกใช้ ผ้าลินินคุณภาพสูง เป็นพื้นผิวสำหรับการลงสี คัดเลือกสีน้ำมันเกรดคุณภาพ ที่ให้สีคงทนและสามารถถ่ายทอดรายละเอียดได้อย่างชัดเจน เตรียมพู่กันและเครื่องมือเฉพาะทางสำหรับงานจิตรกรรมขนาดใหญ

     

     

3. การรองพื้น
    รองพื้นผ้าลินินด้วย Acrylic Gesso เพื่อป้องกันการซึมของสี จากนั้นปล่อยให้พื้นผิวแห้งและขัดแต่งให้เรียบเพื่อให้สีติดแน่นและดูดซึมได้ดี


4. การร่างภาพ
ร่างภาพและกำหนดโครงสร้างแสงเงา วาดแบบร่างลงบนผืนผ้า กำหนดสัดส่วนของพระพักตร์ พระวรกาย และรายละเอียดเครื่องทรง กำหนดทิศทางแสงเงา จุดเด่นของภาพ และสร้างมิติไกล้เคียงต้นแบบและภาพร่าง

          

     

5. การลงสีพื้นและกำหนดโทนภาพ
ลงสีพื้นและกำหนดโทนภาพ เริ่มลงสีพื้นเพื่อวางโครงสร้างของภาพและแยกองค์ประกอบหลัก ใช้สีชั้นแรกเพื่อสร้างความลึกและมิติให้กับองค์ประกอบโดยรวม

     


6. การลงสีชั้นที่สองและเก็บรายละเอียด
ลงสีชั้นที่สองและเก็บรายละเอียด เพื่อเสริมมิติ ปรับแต่งองค์ประกอบให้มีความสมจริง เก็บรายละเอียดพระพักตร์ เครื่องทรง ฉลองพระองค์ และเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้สมบูรณ์

     

     

7. การปรับแต่งองค์ประกอบและสร้างความสมดุลของภาพ
     ปรับแต่งองค์ประกอบและสร้างความสมดุลของภาพ ตรวจสอบความถูกต้องของสัดส่วนและความสมดุลขององค์ประกอบ ปรับแต่งแสงเงา สี และความกลมกลืนของภาพเพื่อให้มีความงดงาม



     

8. การตรวจสอบคุณภาพและความถูกต้องของผลงาน
     ตรวจสอบคุณภาพและความถูกต้องของผลงาน ตรวจสอบความสมจริงของรายละเอียด พระพักตร์ และท่วงท่า เปรียบเทียบกับข้อมูลทางประวัติศาสตร์เพื่อความถูกต้องของเครื่องทรงและองค์ประกอบ



-
จำนวนผู้เข้าชม 150 คน
  BACK TO TOP

toto togel

toto togel

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

toto slot

situs toto

situs toto

toto slot

toto slot

situs toto

toto slot

toto togel

toto togel

toto togel

indosattoto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

situs toto

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

situs slot

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel

toto togel