ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

จัดการความเป็นส่วนตัว

คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)

เปิดใช้งานตลอด
คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการ ใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการใน สาระสำคัญของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้

คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร จดจำตัวเลือกต่าง ๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วย ให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ เช่น ช่วยจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้งานของท่าน หรือจดจำการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าขนาดฟอนต์หรือการตั้งค่าต่าง ๆ ของหน้าเพจซึ่งท่านสามารถปรับแต่งได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน

image header.
ระบบศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร
image header.

  • หน้าแรก
  • ผลงาน
  • ประติมากรรมยักษ์ ๒ ตน ยักษ์วัดแจ้ง และยักษ์วัดโพธิ์

ประติมากรรมยักษ์ ๒ ตน ยักษ์วัดแจ้ง และยักษ์วัดโพธิ์


photo-ประติมากรรมยักษ์ ๒ ตน  ยักษ์วัดแจ้ง และยักษ์วัดโพธิ์
-

ประติมากรรมยักษ์ ๒ ตน ยักษ์วัดแจ้ง และยักษ์วัดโพธิ์

ความสูง ๖ เมตร

ปั้นด้วยดินเหนียวชนิดพิเศษเป็นต้นแบบแล้วสแกนขยายด้วยโฟม(ใช้เครื่องมือชนิดพิเศษขยายในคอมพิวเตอร์)

จิตรกรรม

 เพื่อร่วมงานวันพ่อแห่งชาติ ณ ท้องสนามหลวง


ไม่ระบุ ถึง ไม่ระบุ

๑. การปั้นรูปสเก็ตซ์ต้นแบบต้องศึกษาข้อมูลด้วยการถ่ายรูปจากประติมากรรมยักษ์ของจริงเพื่อนำมาดู

     รูปแบบและลวดลายของเสื้อผ้าที่สวมใส่

          ๒.  ประติมากรรมมีความสูง ๖ เมตร ต้องใช้นั่งร้านมาช่วยในการปฏิบัติงานของช่าง

๓. การขนย้ายประติมากรรมต้องแบ่งเป็น ๒ ท่อนใหญ่และชิ้นส่วนต่างๆนำไปประกอบที่สถานที่จัดแสดงงาน

๔. รถเครนขนาดใหญ่ต้องขอความอนุเคราะห์จากหน่วยงานทหารเพื่อมาช่วยขนย้ายเนื่องจากเป็นงาน

    ประติมากรรมชิ้นใหญ่มาก

๕. เครื่องมือสแกนและขยายโฟมต้องให้ช่างผู้ที่มีความชำนาญเฉพาะมาดำเนินการสแกนรูปประติมากรรมเพื่อ  

    นำไปขยายโฟม


  ๑.  ทำงานแข่งกับเวลาที่กำหนดมาและต้องเสร็จเรียบร้อยอย่างมีประสิทธิภาพทั้งวัสดุอุปกรณ์

                 กำลังคนในการปฏิบัติงานเร่งด่วน

         


   ๑.  งานนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร

                   ณ ท้องสนามหลวง  ๕ ธันวาคม ๒๕๖๒


ขั้นตอนออกแบบประติมากรรม : ยักษ์วัดโพธิ์

ขั้นตอนการปั้น

๑. ออกแบบร่างภาพและขยายแบบ

๒. เดินทางไปเก็บบันทึกข้อมูลรูปภาพยักษ์ ๒ ตนที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามและวัดพระศรีรัตนศาสดาราม

๓. ดำเนินการปั้นสเก็ตซ์ต้นแบบเสร็จใช้เครื่องมือเฉพาะทางสแกนโครงสร้างทั้งหมดของรูปประติมารรมยักษ์

    ๒ ตนแล้วนำไปขยายโฟมขนาดความสูง ๖ เมตร

๔. ยักษ์วัดแจ้งส่งมอบให้กลุ่มงานศิลปประยุกต์ดำเนินการติดลาย ลงสี  ส่วนประกอบต่างๆของยักษ์

๕. ยักษ์วัดโพธิ์ดำเนินการพ่นสีหิน เป็นสีลักษณะเดียวกับยักษ์วัดโพธิ์และใช้ตะปูสกัดเนื้อโฟมให้มีลักษณะ เหมือนหินที่สุดแล้วประกอบโครงสร้างทั้งหมดให้สมบูรณ์

    นายนครินทร์  ศรีเมฆ ประติมากรปฏิบัติการ
ปั้นยักษ์วัดโพธิ์
นายพุฒิพงศ์  เจริญสุกใส  นายช่างศิลปกรรมปฏิบัติงาน
ปั้นยักษ์วัดแจ้ง
     สเก็ตซ์ต้นแบบ ยักษ์วัดโพธิ์ 
สเก็ตซ์ต้นแบบ  ยักษ์วัดแจ้ง
เครื่องมือสแกนประติมากรรมยักษ์ที่ขยาย
สแกนแล้วยิงโฟมตามที่สแกนด้วยเครื่องมือชนิดพิเศษ

       การประกอบชิ้นส่วนยักษ์ทั้ง ๒ ตน

นายมงคล  ฤาชัยราม ประติมากรปฏิบัติการ

 

             หลังจากพ่นสีผิวโฟมให้เสมือนหินแล้วประติมากรใช้ตะปูเจาะตามเนื้อโฟมให้คล้ายหินจริง     
 

รถเครนทหารขนย้ายงานประติมากรรมยักษ์ ๒ ตนไปแสดงที่ท้องสนามหลวง ๕ ธันวาคม ๒๕๖๒

 



-
จำนวนผู้เข้าชม 1,308 คน
  BACK TO TOP
jualtoto jualtoto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto ohtogel oh togel indosattoto indosat toto ohtogel oh togel ohtogel oh togel ohtogel oh togel jualtoto jual toto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto cahayatoto cahaya toto indosattoto indosat toto indosattoto indosat toto jualtoto ohtogel sisi368 jualtoto jualtoto sisi368 sisi368 sisi368 situs toto situs toto situs toto ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel sisi368 sisi368 sisi368 sisi368 sisi368 ohtogel