ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

จัดการความเป็นส่วนตัว

คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)

เปิดใช้งานตลอด
คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการ ใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการใน สาระสำคัญของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้

คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร จดจำตัวเลือกต่าง ๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วย ให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ เช่น ช่วยจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้งานของท่าน หรือจดจำการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าขนาดฟอนต์หรือการตั้งค่าต่าง ๆ ของหน้าเพจซึ่งท่านสามารถปรับแต่งได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน

image header.
ระบบศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร
image header.

องค์ความรู้

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางด้านศิลปกรรม ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ (ครั้งที่ ๑)

สำนักช่างสิบหมู่ นำเสนอ E – book  รายงานสรุปการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ ๑  หัวข้อ “ทฤษฎีสีเบื้องต้นในธรรมชาติ” และ “การเขียนภาพธรรมชาติด้วยสีอะคริลิค”โดยวิทยากรรับเชิญ  อาจารย์สมวงศ์  ทัพพรัตน์ในโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางด้านศิลปกรรม  ประจำปีงบประมาณ  ๒๕๖๔“เสริมสร้างทักษะความรู้ แนวคิดในการสืบทอดงานศิลปกรรมสำนักช่างสิบหมู่ ด้านจิตรกรรม"              ซึ่งสำนักช่างสิบหมู่ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการเรียนรู้ส่งเสริมให้บุคลากรมีทักษะและสมรรถนะที่เหมาะสมต่อการปฏิบัติงาน  เนื่องด้วยการปฏิบัติเป็นงานสายวิชาชีพเฉพาะ  จึงมีการการจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะทางด้านศิลปกรรมให้กับบุคลากรสำนักช่างสิบหมู่ขึ้น  อันจะนำไปสู่การพัฒนาต่อยอด และสามารถปฏิบัติงานให้บริการแก่ประชาชน หน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะทางด้านศิลปกรรมนี้  เป็นการเปิดโอกาสให้บุคลากรผู้มีความสนใจในการเพิ่มพูนทักษะด้านศิลปกรรมในหลาย ๆ ด้าน ทั้งในเชิงวิชาการ  ทักษะการปฏิบัติงาน และการเดินทางศึกษาเรียนรู้จากผลงานศิลปกรรมชั้นครูตามสถานที่สำคัญต่าง ๆ โดยมีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมเป็นจำนวนมากและเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำในทุกปี              ในโอกาสนี้ทางสำนักช่างสิบหมู่ต้องกราบขอบพระคุณวิทยากรรับเชิญ  อาจารย์สมวงศ์  ทัพพรัตน์  ที่สละเวลาอันมีค่าเดินทางมาให้ความรู้กับบุคลากรของสำนักช่างสิบหมู่  แนะนำเทคนิคทางด้านการใช้สี  เสริมความรู้ด้านทัศนียวิทยา และแนะนำเทคนิคการใช้สีกับการถ่ายทอดภาพทิวทัศน์จากสถานที่จริง  ซึ่งเป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์ให้บุคลากรได้มีโอกาเรียนรู้  แลกเปลี่ยน  และนำเทคนิคแนวทางการดำเนินงานมาปรับประยุกต์ใช้ในการทำงานสำหรับหน่วยงานต่อไป

โครงการศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปกรรม “การซ่อมบูรณะงานศิลปกรรมแบบสำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร (งานปิดทอง งานประดับกระจก)กรณีศึกษาพระแท่นบรรทม

เอกสารฉบับบนี้นำเสนอรายละเอียดการบูรณะซ่อมแซมพระแท่นบรรทม พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ในลักษณะการบูรณะซ่อมแซม. เพื่อการศึกษา เพื่อการอนุรักษ์และจัดแสดงแบบสำนักช่างสิบหมู่ ด้วยหลักฐานที่ปรากฎตามข้อเท็จจริงและสมมุติฐานโดยคำนึงถึงรูปแบบเดิมของพระแท่นบรรทมที่มีลักษณะงานช่างโบราณลงรักปิดทองประดับกระจก ทาชาดรวมถึงงานช่างสนะไทยเป็นงานที่เกี่ยวกับงานผ้าอาภรณ์ภัณฑ์ในการจัดทำผ้าดาดหลังคาและผ้าขลิบลายทองของพระแท่นบรรทมอันเป็นรูปแบบงานประณีตศิลป์ไทยที่ถ่ายทอดฝีมือและศิลปะเชิงช่างแบบโบราณจากอดีตจนถึงปัจจุบันให้กลับคืนสภาพอดีตดั่งแรกสร้าง            เพื่อเป็นการสืบทอดองค์ความรู้งานครูช่าง พัฒนาศักยภาพบุคลากรของสำนักช่างสิบหมู่ให้เกิดความเชี่ยวชาญทางด้านการบูรณะซ่อมแซมโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุอย่างถูกต้องเหมาะสม  และสอดคล้องกับภารกิจหลักขององค์กร โดยสำนักช่างสิบหมู่เป็นหน่วยงานในสังกัดกรมศิลปากรมีหน้าที่ในการทำนุบำรุงรักษาสืบทอด และเผยแพร่ความรู้อันเนื่องด้วยมรดกศิลปวัฒนธรรมของชาติ และสะดวกในการสืบค้นข้อมูลต่อไปในอนาคต สำนักช่างสิบหมู่หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารองค์ความรู้การบูรณะซ่อมแซมพระแท่นบรรทม รัชกาลที่ ๔ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม  ฉบับนี้จะเป็นแนวทางการบูรณะซ่อมแซมโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุในลักษณะการซ่อมงานอนุรักษ์แบบสำนักช่างสิบหมู่และเป็นประโยชน์ทางการศึกษาสำหรับผู้ที่สนใจได้ไม่มากก็น้อย หากเอกสารองค์ความรู้การบูรณะซ่อมแซมพระแท่นบรรทมฉบับนี้มีข้อผิดพลาดประการใดสำนักช่างสิบหมู่  ยินดีรับฟังข้อเสนอแนะและจะนำมาปรับปรุงเอกสารให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นต่อไป

ความรู้ทั่วไป

การจัดสร้าง ตะเกียงโรมัน(จำลอง)

ปีพุทธศักราช ๒๕๖๑ ในวันอนุรักษ์มรดกไทย  กรมศิลปากรนิทรรศการพิเศษ เรื่อง จากบ้านสู่เมือง : รัฐแรกเริ่มบนแผ่นดินไทย  กรมศิลปากร. มอบหมายให้สำนักช่างสิบหมู่ดำเนินการจัดสร้างตะเกียงโรมัน(จำลอง) เพื่อนำขึ้นทูลเกล้าถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยกลุ่มประติมากรรม  สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร  รับผิดชอบในการจำลอง และศูนย์ศิลปะและการช่างไทยดำเนินการรวบรวข้อมูลขั้นตอนการจัดสร้างตะเกียงโรมัน(จำลอง)    มีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้

การเขียนภาพคชสีห์ : องค์ความรู้จากครูช่าง นายอมร ศรีพจนารถ

          คำว่า “คชสีห์” นั้นเป็นคำสมาส คือ เอาคำสองคำมาต่อกัน คำว่า “คช” กับคำว่า “สีหะ” อีกคำหนึ่ง ความหมายคำว่า “คช” ก็แปลว่า ช้าง และ “สีหะ” ก็คือ ราชสีห์ นั่นเอง เมื่อนำเอาสมาสกันแล้วการันต์ตัว ห  ในทางการช่างศิลปะไทยเรา หมายถึง การนำเอาสัตว์สองชนิดมารวมกันอยู่ในตัวเดียว             ซึ่งจะเห็นได้ว่าช่างโบราณของไทยเราได้ประดิษฐ์สัตว์หิมพานต์ขึ้นมาตามจินตนาการนั้นมีหลายชนิด และบางอย่างก็นำมาปะติดปะต่อเป็นสัตว์ผสมกัน  สังเกตได้ง่าย คือ ถ้าเรากล่าวถึงสัตว์อะไรก่อน  ส่วนมากจะเขียนเป็นหัวของสัตว์นั้น  ส่วนชื่อตามหลังจะกลายเป็นตัวและเท้าตลอด ดังเช่นคำว่า “คชสีห์” นี้  ส่วนที่เป็นหัวก็มีงวง มีงาลักษณะของช้างประดิษฐ์ ตั้งแต่คอลงไปตลอดหางก็เป็นราชสีห์ (ในเอกสารนี้อาจารย์กล่าวถึงการเขียนหน้าหรือศีรษะของคชสีห์ส่วนลำตัวให้ดูประกอบในเรื่องการเขียนราชสีห์)

ทะเบียนช่างสิบหมู่


ทะเบียนช่างไทย


  BACK TO TOP
jualtoto jualtoto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto ohtogel oh togel indosattoto indosat toto ohtogel oh togel ohtogel oh togel ohtogel oh togel jualtoto jual toto jualtoto jual toto cahayatoto cahaya toto cahayatoto cahaya toto indosattoto indosat toto indosattoto indosat toto jualtoto ohtogel sisi368 jualtoto jualtoto sisi368 sisi368 sisi368 situs toto situs toto situs toto ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel ohtogel sisi368 sisi368 sisi368 sisi368 sisi368 ohtogel